346 |
กรรม 4 ประการ กรรมดำ กรรมขาว กรรมดำมีวิบากดำ.. กรรมขาวมีวิบากขาว.. กรรมทั้งดำทั้งขาวมีวิบากทั้งดำทั้งขาว... |
S2-51 |
มิจฉาทิฏฐิเรื่องกรรม 4 แบบ (กรรม-สุขทุกข์ ไม่ได้เกิดจากผู้อื่นบันดาล) |
101 |
กรรมดำ-กรรมขาว กรรม 4 อย่าง อย่างไรเล่า ? (กรรมดำมีวิบากดำ.. กรรมขาวมีวิบากขาว..) เหตุปัจจัย และผลของกรรม |
1713 |
กรรม 4 อย่าง กรรมเก่า กรรมใหม่ ความดับแห่งกรรม ปฏิปทาให้ความดับแห่งกรรม (กรรมสูตร) |
S10-34 |
การก้าวลงสู่ครรภ์ 4 อย่าง.. รู้สึกตัว-ไม่รู้สึกตัวในการก้าวลงสู่ครรภ์มารดา.. รู้ตัว-ไม่รู้ตัวเมื่ออยู่ในครรภ์.. รู้ตัว-ไม่รู้ตัวเมื่อคลอด |
S1-28 |
การทำงานของจิต อาศัย 4 ธาตุ (วิญญาณอาศํย รูปตั้งอยู่ อาศัยเวทนา สัญญา สังขาร... 4 ธาตุนี้เรียกว่าอารมณ์) |
S8-269 |
การนอน 4 แบบ ๑.เปตไสยา(นอนหงาย-คนตาย) ๒.กามโภคีไสยา(ตะแคงซ้าย)๓.สีหไสยา(ราชสีห์) ๔.ตถาคตไสยา(ตะแคงขวา) |
S11-18 |
การพยากรณ์อรหัตผลด้วยมรรค 4 ประการ..เจริญวิปัสสนา มีสมถะเป็นเบื้องหน้า ..ใจของภิกษุปราศจากอุทธัจจะ(ลังเลสงสัย) |
1068 |
กาลิก 4 .. ของฉัน ๔ อย่าง ๑.ยามกาลิก-น้ำปานะ ๒.ยาวกาลิก-อาหาร ๓. สัตตาหกาลิก-น้ำผึ้ง น้ำอ้อย ๔. ยาวชีวิก-ยารักษาโรค |
S8-241 |
กำเนิด 4 (ลักษณะของการเกิด) การเกิดของสัตว์ในคติ 5 เกิดในไข่ เกิดในครรภ์ เกิดในเถ้าไคล เกิดผุดขึ้น(โอปปาติกะ) |
(4) |
ข ค จ ฌ ฐ |
1244 |
ของอัศจรรย์ 4 อย่างที่ไม่เคยมี จากการบังเกิดของตถาคต 1.ประชาชนพอใจในกามคุณ ครั้นตถาคตแสดง ก็ฟัง เงี่ยหูฟัง |
393 |
ครุฑ 4 จำพวก กำเนิดครุฑ 4 จำพวก (เกิดในไข่..เกิดในครรภ์..เกิดในเถ้าไคล..เกิดผุดขึ้น) |
S3-25 |
ความรัก 4 แบบ (รักเกิดจากรัก - เกลียดเกิดจากรัก - รักเกิดจากเกลียด -เกลียดเกิดจากเกลียด) |
207 |
ความรัก 4 แบบ (รักเกิดจากรัก ,เกลียดเกิดจากรัก , รักเกิดจากเกลียด, เกลียดเกิดจากเกลียด) |
1745 |
ความอัศจรรย์ 4 ประการ (อัจฉริยสูตร) ของพระตถาคต ของพระอานนท์ และพระมหาจักรพรรดิ |
S9-012 |
คู่แห่งบุรุษ 4 คู่ นับเรียงตัวได้ 8 บุรุษ คู่ที่ ๑ โสดาปัตติผล +โสดาปัตติมรรค คู่ที่ ๒ สกทาคามิผล + สกทาคามิมรรค ... |
460 |
จักรพรรดิ์สุทัสสนสูตร มีมหาสมุทรทั้ง 4 เป็นขอบเขต กษัตริย์ผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน มีอาณาจักรมั่นคง. |
646 |
ฌาน 4 และ ญาณ 3 ทรงบรรลุแล้วในปัจฉิมยามแห่งราตรี อวิชชาได้กำจัดแล้ว วิชชาเกิดขึ้นแล้ว สคารวมาณพขอบวช |
138 |
ฐานะ 4 ประการนี้ (การดูใจ ศีล-รู้ได้ด้วยการอยู่ร่วมกัน ความสะอาด-รู้ได้ด้วยถ้อยคำ กำลังใจ-รู้ได้ในอันตราย ปัญญา- พึงรู้ได้..) |
(4) |
ท ธ น |
B12 -01 |
ทรัพย์- หลักในการใช้จ่ายทรัพย์ 4 ประการ หนังสือปฐมธรรม |
S10-13 |
ทางแห่งความหมดจด 4 ทาง..1.องค์แปด 2.อริยสัจสี่ 3.วิราคธรรม 3.ผู้มีพุทธจักษุ เห็นว่าสังขาร ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา |
S3-27 |
ธรรม 4 ประการ ที่ควรู้, ควรละ, ทำให้เจริญ, ทำให้แจ้ง (รู้-ขันธ์5 ละ-อวิชชา จริญ-สมถะวิปัสนา แจ้ง-วิชชาและวิมุติ) |
298 |
ธรรม 4 ประการ ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้แจ้ง ควรทำให้เจริญ |
1428 |
ธรรม 4 ประการ เป็นไปเพื่อประโยชน์เพื่อความสุขแก่กุลบุตร 1.สัทธาสัมปทา 2.สีลสัมปทา 3.จาคสัมปทา 4.ปัญญาสัมปทา |
1428 |
ธรรม 4 ประการ เพื่อประโยชน์สุขในปัจจุบัน 1.ขยัน 2.ได้ทรัพย์โดยชอบธรรม 3.เป็นกัลยาณมิตรที่ดี 4.ใช้ทรัพย์อย่างพอเหมาะ |
1134 |
ธรรม 4 อย่าง มีอุปการะมาก (พระสารีบุตรแสดงธรรมให้กับภิกษุ ๕๐๐ รูป) - ทสุตตรสูตร |
S10-25 |
ธรรมชาติ 4 อย่างนี้มีอยู่ ...เพราะมีธรรมชาติ ๔ อย่างนี้มีอยู่ การสลัดออกซึ่งธรรมชาติเหล่านี้ จึงปรากฎ |
998 |
ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ 4 ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ : ๑.มีปัญญา ๒.มีสัจจะ ๓.มีจาคะ ๔.มีอุปสมะ (ความสงบ ความระงับ) |
1124 |
ธรรมมีประเภทละ 4 (โดยสารีบุตร) ธาตุ ๔ อย่าง.. อาหาร๔ ..วิญญาณฐิติ ๔ ..ธรรมขันธ์ ๔.. กรรม ๔ ..การก้าวลงสู่ครรภ์ ๔ อย่าง |
1142 |
ธรรมสมาทาน 4 อย่าง คือ 1.แบบสุขปัจจุบัน..มีทุกข์เป็นวิบาก 2.ทุกข์ปัจจุบัน.. ทุกข์เป็นวิบาก 3. ทุกข์ปัจจุบัน.. สุขเป็นวิบาก |
538 |
ธาตุ 4 รายละเอียดของธาตุสี่ 1.ปฐวีธาตุ -ธาตุดิน 2.อาโปธาตุุ-ธาตุน้ำ 3.เตโชธาตุ-ธาตุไฟ 4.วาโยธาตุ-ธาตุลม |
392 |
นาค 4 จำพวกเป็นสัตว์เดรัจฉานมี ๑.เกิดในไข ๒.เกิดในครรภ์ ๓.เกิดในเถ้าไคล ๔.เป็นโอปปาติกะ (เกิดผุดขึ้น) |
(4) |
บ |
914 |
บุคคล 4 จำพวก (๑) ทำตนให้เดือดร้อน ขวนขวายทำตนให้เดือดร้อน (๒) ทำผู้อื่นให้เดือดร้อน ขวนขวายทำผู้อื่นให้เดือดร้อน... |
1082 |
บุคคล 4 จำพวก (ปุคคลวรรคที่ ๔) จำนวน ๘ พระสูตร (๘ นัยยะ) |
813 |
บุคคล 4 จำพวก (สัมมาวาจา) 1.ติแต่ไม่สรรเสริญ 2.สรรเสริญและไม่ติ 3.ไม่ติไม่สรรเสริญ 4. ติและสรรเสริญ (พ.เจ้าสรรเสริญ) |
500 |
บุคคล 4 จำพวก 1.อสัตบุรุษ ....สัตบุรุษ.. คนดี..คนลามก..คนมีธรรมอันลามก..คนมีธรรมงาม..ฝนตกฟ้าร้อง..ฝนตกฟ้าไม่ร้อง.. |
504 |
บุคคล 4 จำพวก จตุกกนิทเทส เช่น.อสัตบุรุษ สัตบุรุษ/ คนดี/คนลามก/คนมีธรรมอันลามก/คนมีธรรมงาม /ฝนตกฟ้าร้อง/ ... |
1002 |
บุคคล 4 จำพวก ถูปารหบุคคล ผู้สมควรสร้างสถูป เพื่อผู้เห็นจะยังจิตให้เลื่อมใส ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ |
1319 |
บุคคล 4 จำพวก ประเภท(1) 1.ละสังโยชน์เบื่องต่ำได้-ไม่ได้ 2.ฉลาดผูกไม่ฉลาดแก้ 3.สมบูรณ์-ไม่สมบูรณ์ในศีล4.จิตออกกายไม่ออก |
1319 |
บุคคล 4 จำพวก ประเภท(10) 1.นักพูดย่อมจำนน 2.โดยอรรถโดยพยัญชนะ 4.ไม่จำนวนโดยอรรถ 5.โดยพยัญชนะ |
1319 |
บุคคล 4 จำพวก ประเภท(2) 1.ผู้ฉลาดผูกไม่ฉลาดแก้ 2.ฉลาดแก้ ไม่ฉลาดผูก 3.ฉลาดทั้งผูก-ทั้งแก้ 4.ไม่ฉลาดทั้งผูก-ทั้งแก้ |
1319 |
บุคคล 4 จำพวก ประเภท(3) 1.รู้ธรรมแต่หัวข้อ 2.รู้ธรรมเมื่ออธิบาย
3.พอแนะนำได้ 4.ผู้มีบทเป็นอย่างยิ่ง |
1319 |
บุคคล 4 จำพวก ประเภท(4) 1.ดำรงชีพด้วยความหมั่น 2.ด้วยผลของกรรม 3.ด้วยผลความหมั่นก็ไม่ใช่ 4.ด้วยผลของกรรมก็ไม่ใช่ |
1319 |
บุคคล 4 จำพวก ประเภท(5) 1.บุคคลผู้มีโทษ 2.บุคคลผู้มากด้วยโทษ 3.บุคคลผู้มีโทษน้อย 4.บุคคลผู้หาโทษมิได้ |
1319 |
บุคคล 4 จำพวก ประเภท(6) 1.ไม่บริบูรณ์ศีลสมาธิปัญญา 2.บ.ศีลไม่สมาธิไม่ปัญญา 3.บ.ศีลสมาธิ-ไม่ปัญญา 4.บ.ศีลสมาธิปัญญา |
1319 |
บุคคล 4 จำพวก ประเภท(7) 1.ไม่หนักในศีล-ไม่มีศีลเป็นใหญ่ 2.ไม่หนักสมาธิ-ปัญญา 3.หนักในศีล-สมาธิ 4.หนักปัญญา-ปัญญาใหญ่ |
1319 |
บุคคล 4 จำพวก ประเภท(8) 1.จิตไม่ออก-กายไม่ออก 2.จิตออก-กายไม่ออก 3.จิตยังไม่ออก-กายออก 4.กายออก-จิตออก |
1319 |
บุคคล 4 จำพวก ประเภท(9) 1.กล่าวธรรมน้อยได้ประโยชน์ 2.ไม่ได้ประโยชน์ 3.กล่าวมากได้ประโยชน์ 4.ไม่ได้ประโยชน์ |
S9-49 |
บุคคล 4 จำพวก เรียงตัวได้ 8 บุรุษ 1.โสดาบัน.2 ผู้ปฏิบัติเพื่อเป็นโส 3.สกทาคามี 4.ผู้ปฎิบัติเพื่อเป็นสกทา 5. อนาคามี 6... |
1117 |
บุคคล 4 จำพวก (สังโยชน์สูตร) อริยะบุคคล ตั้งแต่สกทาคามีขึ้นไป ที่ยังละสังโยชน5 ได้-ไม่ได้, สร้างการเกิดและภพได้-ไม่ได้ |
551 |
บุคลล 4 ประเภท ลักษณะของบุคคลสี่ประเภท :กายออกจิตไม่ออก กายไม่ออกจิตออก กายไม่ออกจิตไม่ออก กายออกจิตออก |
1226 |
บุคคล 4 จำพวก สสังขารปรินิพพายี อสังขารปรินิพพายี นิพพานปัจจุบัน-หลังกายแตก |
S7-219 |
บุคคล 4 จำพวก อสังขาร-สสังขารปรินิพพายี ๑.สสังขารก่อนตาย ๒.สสังขารหลังตาย ๒.อสังขารก่อนตาย ๔.อสังขารหลังตาย |
S3-28 |
บุคคลเปรียบด้วยมะม่วง 4 จำพวก (อัมพสูตร) (มะม่วงดิบผิวสุก-มะม่วงสุกผิวดิบ-มะม่วงดิ ผิวดิบ-มะม่วงสุกผิวสุก) |
(4) |
ป |
1227-31 |
ปฏิปทา 4 ประการ (นัยยะ๑-๒-๓-๔) ราคะกล้า.. เห็นกายว่าไม่งาม..เขาด่าย่อมด่าตอบ..ไม่อดทน..ทุกขาปฏิปทา/สุขาปฏิปทา |
279 |
ปฏิปทา 4 ประการ ทุกขาปฏิปทาฯปฏิบัติลำบากรู้ช้า-ทุกขาปฏิปทารู้เร็ว-สุขาปฏิปทาฯปฏิบัติสะดวกรู้ช้า ) |
470 |
ปสาทสูตร ความเลื่อมใสในสิ่งเลิศ 4 ประการ เลื่อมใสในพระพุทธเจ้า- อริยมรรคมีองค์ ๘- เลื่อมใสในวิราคะ- เลื่อมใสในพระสงฆ์ |
469 |
ปสาทสูตร ความเลื่อมใสในสิ่งเลิศ 4 ประการ เลื่อมใสพระพุทธเจ้า- อริยมรรคมีองค์ ๘- เลื่อมใสในวิราคะ- เลื่อมใสในพระสงฆ์ |
920 |
ปาราชิก 4 เป็นอาบัติหนัก ที่เรียกว่า อเตกิจฉา คือแก้ไขไม่ได้เลย (คือต้องออกจากความเป็นพระ -ต้องสึก) |
(4) |
ผ พ |
564 |
ผลของการรู้ และไม่รู้อริยสัจ 4 เปรียบซัดท่อนไม้ขึ้นสู่อากาศ..และการดับเร่งดับไฟที่ลุกโพรงบนศรีษะ.. |
1410 |
ผัง อริยะบุคคล 4 จำพวก และคุณสมบัติ (โสดาบัน สกทาคามี อนาคามี อรหันต์) สังโยชน์เบื้องต่ำ ๕ สังโยชน์เบื้องสูง ๕ |
S4-75 |
ผู้ทำศาสนาเสื่อม 4 อย่าง (เล่าเรียนมาผิด-เป็นคนว่ายาก-ไม่บอกสอน-สะสมบริกขารโดยไม่เหลียวแลวิเวกธรรม) |
936 |
ผู้ไม่ประกอบด้วยธรรม 4 ประการ(ปปติตสูตร) คือ ศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติ เรียกว่าผู้ตกไปจากธรรมวินัยนี้ |
559 |
ผู้ไม่รู้อริยสัจ 4 ชื่อว่าตกอยู่ในที่มืด-อยู่ในหลุมเพลิง เพราะเขายินดีต่อสิ่งปรุงแต่งที่เป็นไปเพื่อความเกิดที่สร้างขึ้นเอง |
867 |
พรหมวิหาร 4 (การแผ่เมตตา) ตรัสกับชีวก เธอมีใจประกอบด้วยเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา แผ่ไป ตลอดทิศทั้ง ๔ |
658 |
พรหมวิหาร 4 ของปริพาชก เมตตสูตร ที่ไม่อาจรู้ว่า มีอะไรเป็นคติ มีอะไรเป็นอย่างยิ่ง มีอะไรเป็นผล มีอะไรเป็นที่สุด |
S11-13 |
พระเจ้าจักรพรรดิ ทรงสัมฤทธิผล 4 อย่าง 1 รูปงามเกินมนุษย์ 2.อายุยืนเกินมนุษย์ 3.อาพาธน้อย 4.เป็นที่รักใคร่ของพราหมณ์ |
1287 |
พระพุทธเจ้าทรงพระประชวร ใน 4 เหตุการณ์ (จากที่พบในพระไตรปิฎก) |
(4) |
ม ย ว |
1601 |
มนุษย์เข้าถึงอนาคามีได้ 4 แบบ และจะปรินิพพานในภพนั้น... รวมพระสูตรที่เกี่ยวข้อง และ ผังอนาคามี เปรียบเทียบ |
S10-16 |
มนุษย์ใน 4 ทวีป (มนุษย์โลก และมนุษย์ต่างดาวในโลกธาตุนี้) |
1057 |
มนุษย์ในโลกธาตุอาศัยอยู่ 4 แห่ง 1. ชมพูทวีป 2. อปรโคยานทวีป 3. อุตตรกุรุทวีปพันหนึ่ง 4. ปุพพวิเทหทวีป |
465 |
มหาประเทศ 4 อย่าพึงรับรองอย่าพึงคัดค้าน ฟังจากพระพุทธเจ้า.. ฟังมาจากสงฆ์ในอาวาส-พระเถระ-ประธานสงฆ์ ... |
484 |
มหาภูตรูป 4 ย่อมดับไม่มีเหลือ ในที่ไหนหนอ....เธอมิควรถามอย่างนั้น แต่ควรถามว่า มหาภูตรูปย่อมตั้งอยู่ไม่ได้ในที่ไหน |
1617 |
เรา (ตถาคต) เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ตั้งอยู่ในธรรม เป็นธรรมราชา มีสมุทรทั้ง 4 เป็นขอบเขต |
148 |
ม้าอาชาไนย 4 ประเภท (ม้าฉลาดเมื่อเห็นเงาปฏัก ย่อมขวนขวายโดยพลัน) |
B14-01-6 |
โยคะ 4 (จากพระโอษฐ์) เป็นไฉน กามโยคะ ภวโยคะ ทิฏฐิโยคะ อวิชชาโยคะ |
944 |
โยคะสูตร (ฉบับหลวง) โยคะ ๔ ประการเป็นไฉน กามโยคะ ภวโยคะ ทิฏฐิโยคะ อวิชชาโยคะ |
342 |
รูปสัญญา 4 และ วิชชา 8 (รายละเอียดของฌานแต่ละระดับ) |
S7-213 |
รู้อริยสัจ 4 รีบด่วนกว่าการดับไฟบนศีรษะ ต้องใช้..ฉันทะ วายามะ อุสสาหะ อัปปฏิวานี สติ และสัมปชัญญะ |
750 |
เวสารัชชญาณ 4 อย่าง จอมโลก-เวสารัชชสูตร ทรงประกาศ ตําแหน่งจอมโลก บันลือสีหนาทประกาศพรหมจักร ไม่มีใครเทียบ |
(4) |
ส ห |
S12-24 |
สติปัฎฐาน 4 คือ กองกุศลที่แท้จริง (กุศลราสี) สรุปย่อจาก มหาสติปัฏฐานสูตร |
195 |
สติปัฏฐาน 4 ว่าด้วยการเจริญสติปัฏฐาน พิจารณากาย -เวทนา- จิต- ธรรม |
156 |
สมณะมีในธรรมวินัยนี้เท่านั้น (4 สมณะ) (สมณะที่ 1 สมณะที่ 2 สมณะที่ 3 สมณะที่ 4) |
S9-020 |
สังเวชนียสถาน 4 สังเวชนียสถาน ๔ แห่งเหล่านี้ เป็นที่ควรเห็น ของกุลบุตรผู้มีศรัทธา เป็นอารมณ์ที่เป็นไปเพื่อสุคตโลกสวรรค์ |
1602 |
สัจจะของพราหมณ์ 4 ประการ ชื่อว่ากล่าวจริง ไม่ใช่กล่าวเท็จ |
S3-26 |
สัมมัปปธาน 4 หรือ ปธาน 4 (ความเพียรชอบ ความเพียรใหญ่ เพียรยับยั้งอกุศล เพียรสร้างกุศล) |
1658 |
สุข 4 ประการ อันเกิดจากผู้บริโภคกามของคฤหัสถ์ (อันนนาถสูตร) |
S7-227 |
สิ่งที่อยู่ไกลกัน 4 อย่าง ฟ้ากับดิน ..ฝั่งนี้และฝั่งโน้นแห่งสมุทร..พระอาทิตย์ขึ้น-ตก ..ธรรมของสัตบุรุษและอสัตบุรุษ |
180 |
โสตาปัตติยังคะ 4 คุณสมบัติของโสดาบัน (เลื่อมใสอย่างยิ่งในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ถึงพร้อมด้วยศีล) |
645 |
เหตุ 4 ประการ ทุกกรกิริยา- เหตุที่ทำให้พระองค์กลับมาฉันอาหาร |
(4) |
อ |
453 |
อจินไตย 4 เรื่องที่ไม่ควรคิด คิดแล้วอาจเป้นบ้า..พุทธวิสัยของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ฌานวิสัย วิบากกรรม คิดในเรื่องของโลก |
S14-41 |
อริยะบุคคล 4 จำพวก หลังทำกาละในภพมนุษย์แล้ว ไปเกิดในภพไหน |
933 |
อรหันต์ผู้มีฤทธิ์ 4 รูป เข้าเตโชธาตุกสิณ ตามพระผู้มีพระภาคขึ้นไปปรากฎในพรหมโลก พระโมค กัสสป กัปปินะ อนุรุทธ |
S13-15 |
อริยะบุคคล 4 อีกนัยยะหนึ่ง สมณะมจละ(ผู้ไม่หวั่นไหว) สมณะบุณฑริก(บัวขาว) สมณะปทุมะ(บัวชมพู) สมณะสุขุมาล |
1586 |
อริยวงศ์ 4 ประการ คุณสมบัติของบรรพชิตผู้สันโดษ ตามมีตามได้ 1.สันโดษด้วยจีวร 2.บิณฑบาต 3.เสนาสนะ 4.เจริญภาวนา |
566 |
อริยสัจ 4 - ที่ทรงแสดงโดยพิสดาร โดยละเอียด |
177 |
อริยสัจ 4 (โดยละเอียด) (ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค)โดยละเอียด |
563 |
อริยสัจ 4 ทรงบันลือสีหนาท ประกาศจตุราริยสัจ(อริยสัจสี่) พระยาสัตว์ชื่อสีหะ ออกจากถ้ำที่อาศัย สัตว์ทั้งหลายก็สะดุ้งกลัว |
562 |
อริยสัจ 4 ทรงพยากรณ์เฉพาะเรื่องอริยสัจ 4 ว่านี้ทุกข์ เหตุเกิดทุกข์ ...เรื่องอื่นที่ไม่เป็นไปเพื่อดับทุกข์ ไม่ทรงพยากรณ์ |
560 |
อริยสัจ 4 เรียนอริยสัจกับหนู 4 จำพวก หนูขุดรูแต่ไม่อยู่:เรียนปริยัติแต่ไม่รู้อริยสัจ-หนูไม่ขุดรูแต่อยู่:ไม่เรียนปริยัติแต่รู้อริยสัจ |
S10-21 |
อริยสัจ 4 อย่าง เป็นสิ่งที่คงที่ |
561 |
อริยสัจ 4 หลายนัยยะ |
166 |
อริยสัจ 4 ความจริงอันประเสริฐมีสี่อย่างเหล่านี้, สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? |
1244 |
อัศจรรย์ 4 อย่างที่ไม่เคยมี จากการบังเกิดของตถาคต 1.ประชาชนพอใจในกามคุณ ครั้นตถาคตแสดง ก็ฟัง เงี่ยหูฟัง |
1225 |
อานิสงส์ 4 ประการ จากการฟังธรรมเนืองๆ จนคล่องปาก หลังทำกาละ จะระลึกบทแห่งธรรมได้เอง .. ภิกษุผู้มีฤทธิ์ขึ้นมาสอน |
233 |
อานิสงส์ 4 ประการทรงจำสุตตะ คำพระศาสดาจนคล่องปากขึ้นใจ อานิสงส์ ๔ ประการ (บทแห่งธรรมย่อมปรากฏแก่เธอ) |
693 |
อาหาร 4 อัตถิราคสูตร กวฬีการาหาร ผัสสาหาร มโนสัญเจตนาหาร วิญญาณาหาร |
1399 |
อาหาร 4 ของสัมภเวสีสัตว์ และภูตสัตว์ คือ กวฬีการาหาร (อาหารเข้าปาก) ผัสสาหาร (อาหารอายตนะ๖) มโนสัญเจตนาหาร |
691 |
อาหาร 4 ปุตตมังสสูตร (ชุดจากพระโอษฐ์) อาหาร ๔ เพื่อความดำรงอยู่ของสัตว์โลก และแก่สัตว์ผู้แสวงหาที่เกิด(สัมภเวสี) |
1749 |
อาหาร 4 ปุตตมังสสูตร (ฉบับหลวง) อาหาร ๔ เพื่อการดำรงอยู่ของสัตว์โลก และผู้แสวงหาที่เกิด(สัมภเวสี) |
1591 |
รวมเรื่องอิทธิบาท 4 ประกอบด้วย ฉันทะสมาธิ วิริยะสมาธิ จิตตสมาธิ วิมังสาสมาธิ และปธานสังขาร จักไม่ย่อหย่อน |
982 |
อิทธิบาท 4 เจริญอิทธิบาท ๔ : ฉันทสมาธิ วิริยสมาธิ จิตตสมาธิ วิมังสาสมาธิ ผล...ย่อมแสดงฤทธิ์ ได้หลายอย่าง |
492 |
อุปาทาน 4 (โดยละเอียด) กามุปาทาน ทิฏฐุปาทาน สีลัพพัตตุปาทาน อัตตวาทุปาทาน
อุปาทาน ๔ มีอะไรเป็นต้นเหต.. มีตัณหาเป็นต้นเหตุ |
254 |
อุปาทาน 4 อย่าง กามุปาทาน/ทิฏฐุปาทาน ยึดถือในความเห็นของตน/สีลัพพัตตุปาทาน /อัตตวาทุปาทาน |