|
|
|
|
|
|
|
วิชชา3 (ญาณ3) |
|
ปาฏิหาริย์ 3 |
|
อภิญญา 6 |
|
วิชชา8 (ญาณ8) |
วิชชา ๓ (ตรัสกับ เวรัญชพราหมณ์)
ฉบับหลวง เล่มที่ ๑ วินัยปิฎก หน้าที่ ๕-๖
ดูพระสูตรเต็ม P343 |
|
เกวัฏฏสูตร (ตรัสกับ
เกวัฏฏ บุตรคหบดี)
ฉบับหลวง เล่มที่ ๙
สุตตันต หน้าที่ ๓๐๖
ดูพระสูตรเต็ม P293 |
|
อภิญญา ๖ (ตรัสกับวัจฉะ)
ฉบับหลวง เล่ม ๑๓ สัตตันต หน้า ๒๐๐
ดูพระสูตรเต็ม P824 |
|
วิชชา ๘ (ตรัสกับพระเจ้าอชาตศัตรู)
ฉบับหลวง เล่มที่ ๙
พระสุตตันต หน้าที่ ๗๒
ดูพระสูตรเต็ม P1045 |
1.ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
ระลึกชาติ รู้ชาติในอดีต รู้ภพในอดีต มีโคตร
มีผิวพรรณอย่างนั้น เสวยสุข-ทุกข์ อย่างนั้นๆ
มีกำหนดอายุเพียงเท่านั้น |
|
1. อิทธิปาฏิหาริย์
มีฤทธิ์ หายตัวได้ เดินทะลุกำแพงได้ เดินบนน้ำ
เดินบนอากาศ หายตัว ทำคนเดียวเป็นหลายคน |
|
1. อิทธิปาฏิหาริย์
มีฤทธิ์ คนเดียวเป็นหลายคน หลายคนเป็น คนเดียว ทำให้ปรากฏ หรือหายตัว เดินทะลุ กำแพง ภูเขา เดินบนน้ำ |
|
1. วิปัสสนาญาณ
มีญาณทัศนะ เห็นว่ากายนี้ประกอบด้วย
นาม-รูป หรือธาตุ๔ รู้ว่ากายนี้มีวิญญาณ |
|
|
|
|
|
|
|
2.จุตูปปาตญาณ
รู้การจุติ การอุบัติ รู้ภพใหม่ ด้วยทิพย์จักษุ)
ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ ผู้เป็นไปตามกรรม |
|
2. อาเทสนาปาฏิหาริย์
ทายใจ ทายความรู้สึกของจิต
ทายความตรึก
ทายความคิด ทายความศรัทธา |
|
2. ทิพยโสตธาตุ (ได้ยินเสียงทิพย์)
ได้ยินเสียงทั้งสอง คือ เสียงทิพย์(เสียงเทวดา) และเสียงของมนุษย์ ทั้งที่ไกลและที่ใกล้ ด้วยทิพยโสตธาตุอันบริสุทธิ์ |
|
2. มโนมยิทธิญาณ
ฤทธิ์ทางใจ นิรมิตกายอื่น ออกจากกายนี้
ดุจ
ชักดาบจากฝัก หรือดุจชักหญ้าออกจากปล้อง |
|
|
|
|
|
|
|
3.อาสวักขยญาณ (ญาณเพื่อการหลุดพ้น)
รู้ชัดในอริยสัจสี่ จิตหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณ
รู้ว่าจิตหลุดพ้นแล้ว สิ้นภพแล้ว พรหมจรรย์
อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว |
|
3. อนุสาสนีปาฏิหาริย์ (การหลุดพ้น)
สอนให้เห็นสัจจะ ท่านจงตรึกอย่างนี้ๆ
อย่าตรึก อย่างนั้น ๆ จงเข้าถึงสิ่งนี้อยู่เถิด |
|
3. เจโตปริยญาณ (รู้ใจสัตว์)
รู้ใจของสัตว์อื่น จิตมีราคะก็รู้ จิตมีโทสะก็รู้ จิตปราศจากโทสะ จิตเป็นสมาธิ หรือไม่เป็นสมาธิ รู้ว่าจิตหลุด หรือไม่หลุดพ้น ก็รู้ |
|
3. อิทธิวิธญาณ
มีฤทธิ์ต่างๆ เดินบนน้ำ บนอากาศ ทะลุกำแพง
ไปถึงพรหมโลกได้ ทำคนเดียวให้เป็นหลายคน
หรือหลายคนเป็นคนเดียว ลูบคลำดวงอาทิตย์ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
4. บุพเพนิวาสานุสติญาณ (ระลึกชาติได้)
เราพึงระลึกชาติก่อนได้หนึ่งชาติ สองชาติ แสนชาติบ้าง ตลอดสังวัฏฏกัปบ้าง ภพโน้นเรามีชื่อ อย่างนั้น มีโคตรอย่างนั้น |
|
4. ทิพยโสตญาณ
หูทิพย์ ย่อมได้ยินเสียงสองชนิด คือเสียงทิพย์
ในชั้นเทวดา และเสียงมนุษย์ ทั้งใกล้และไกล |
|
|
|
|
|
5. ทิพยจักษุ (จุตูปปาตญาณ ตาทิพย์)
เห็นหมู่สัตว์ที่กำลังจุติ กำลังอุปบัติเลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุ อันบริสุทธิ์ |
|
5. เจโตปริยญาณ
รู้ใจผู้อื่นได้ ว่าผู้นั้น จิตมีราคะ หรือไม่มีราคะ
มีโทสะ โมหะ จิตเป็นสมาธิรู้ จิตหลุดพ้นก็รู้
เปรียบเหมือนส่องหน้าตนในกระจก ก็รู้ว่ามีไฝ |
|
|
|
|
|
6. อาสวักขยญาณ (ญาณแห่งการหลุดพ้น)
ทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันหาอาสวะ มิได้ เพราะอาสวะทั้งหลายสิ้นไป ด้วยปัญญา อันยิ่งด้วยตนเอง |
|
6. ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
ระลึกชาติ รู้ชาติในอดีต รู้ภพในอดีต ว่ามีชื่อ
อย่างนั้น มีโคตรอย่างนั้น เสวยสุข-ทุกข์ อย่าง
นั้น เหมือนคนออกจากบ้านหนึ่งสู่อีกบ้านหนึ่ง |
|
|
|
|
7. จุตูปปาตญาณ
ตาทิพย์ รู้การจุติ การอุบัติ รู้ภพใหม่ในคติทั้ง5
ด้วยทิพย์จักษุ รู้ว่าสัตว์เป็นไปตามกรรม |
|
|
|
8. อาสวักขยญาณ (ญาณเพื่อการหลุดพ้น)
รู้ชัดในอริยสัจสี่ เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณ
รู้ว่า จิตหลุดพ้นแล้ว ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์
อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว |