|
|
1 |
กฎ กถา กร กฬาร กรรม |
S1- 06 |
กฎธรรมชาติสูงสุด ปฏิจจสมุปบาท คือความตั้งอยู่แห่งธรรมดา |
363 |
กฎสูงสุดของธรรมชาติ ปฏิจจสมุปบาท คือความตั้งอยู่แห่งธรรมดา คือกฎตายตัวแห่งธรรมดา คือเมื่อมีสิ่งนี้เป็นปัจจัย... |
121 |
กฏอิทัปปัจยตา และ ปฏิจจสมุปบาท (บทสวดที่พระองค์สัชฌายะด้วยพระองค์เองอยู่เป็นประจำ) |
|
|
1632 |
กุตุหลสาลาสูตร พระองค์ไม่พยากรณ์ภพใหม่ ของสาวก ที่ทำกาละไปแล้ว ด้วยเหตุใด |
S3- 11 |
กถาวัตถุ ถ้อยคำที่ภิกษุไม่ควรพูด และ ควรพูด (เรื่องราชา เรื่องโจร เรื่องภัย เรื่องข้าว ดอกไม้ บ้าน นคร เรื่องโลก...) |
456 |
กรมัททวะ ภัตตาหารมื้อสุดท้าย ชื่อ สุกรมัททวะ แล้วทรงพระประชวรอย่างหนัก ถ่ายเป็นเลือด ใกล้จะนิพพาน |
1085 |
กฬารขัตติยสูตร (๑) กฬารขัตติยภิกษุ กล่าวหาว่าพระสารีบุตรอวดอ้างพระอรหัตผล "รู้ชัดว่าชาติสิ้นแล้วพรหมจรรย์อยู่จบแล้ว |
1086 |
กฬารขัตติยสูตร (๒) พระกฬารขัตติยภิกษุ ฟ้องพระผู้มีพระภาค ว่าพระสารีบุตรบันลือสีหนาท |
|
กรรม |
S9-027 |
กรรม - เหมือนเงาติดตามตัวไปทุกภพ |
1067 |
กรรม - สัตว์ทำไว้ดีก็ตามชั่วก็ตาม จักเป็นผู้รับผลกรรมนั้น |
531 |
กรรม - การทำกรรมทางใดมีโทษมากที่สุด กรรมทางใจ(มโนกรรม) มีผลมากที่สุด มีโทษมากที่สุด ตรัสกับปริพาชกถึง 3 ครั้ง |
286 |
กรรม - จำแนกกรรม-จูฬกัมมวิภังคสูตร (จำแนกกรรมโดยละเอียด) |
287 |
กรรม - จำแนกกรรม-มหากัมมวิภังคสูตร (กัมวิภังค์ จำแนกกรรมโดยละเอียด) |
719 |
กรรม - จูฬกัมมวิภังคสูตร สัตว์มีกรรมเป็นของตน มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย กรรมย่อมจำแนกสัตว์ |
303 |
กรรม - ผู้ฉลาดในเรื่องวิบากแห่งกรรม ฉลาดในเรื่องกรรม (บุคคลเป็นชาวนา ก็เพราะกรรม; เป็นศิลปิน ก็เพราะกรรม) |
682 |
กรรม - อัญญตรสูตร (เสวยวิบากกรรม) ตรัสกับพราหมณ์ คนนั้นทำเหตุ คนนั้นเสวยผล คนอื่นทำเหตุ คนอื่นเสวยผล |
S7-194 |
กรรม - ที่ทำให้ไม่ตกต่ำ พระองค์เล่าอดีต ในชั้น อภัสรพรหม เป็นสักกะจอมเทพถึง 36 ครั้ง อันเนื่องจาก ทาน-ทมะ- สัญญมะ |
S2- 51 |
กรรม - มิจฉาทิฐิเรื่องกรรม (กรรมไม่ได้จากตนเองบันดาล..) |
1073 |
กรรม - มิจฉาทิฐิของ มักขลิ (เจ้าลัทธิ) มีทิฐิว่า กรรมไม่มี ...แต่คิดว่ากรรมเหมือนกลุ่มด้ายยุ่ง เมื่อคลี่ไปก็จะหมด (กรรมไปเอง) |
1713 |
กรรม ๔ อย่าง กรรมเก่า กรรมใหม่ ความดับแห่งกรรม ปฏิปทาให้ความดับแห่งกรรม (กรรมสูตร) |
105 |
เหตุเกิดของกรรม คือผัสสะ กรรมคือภพ กรรมเปรียบเหมือนผืนนา วิบากของกรรม.. เรากล่าวซึ่งเจตนาว่าเป็นกรรม |
1253 |
เหตุให้เกิดของกรรม โลภะ โทสะ โมหะ |
1254 |
เหตุให้เกิดของกรรม ฉันทราคะ ในอดีต อนาคต ปัจจุบัน ความพอใจย่อมเกิดเพราะปรารภธรรม อันเป็นที่ตั้งฉันทราคะในอดีต |
|
|
534 |
กรรมเก่า-กรรมใหม่-ความดับแห่งกรรม กรรมเก่า คือตาหูจมูก.. กรรมใหม่คือการกระทำทางกายวาจาใจ ดับกรรมคือมรรค8 |
1066 |
กรรมเก่า - กรรมใหม่ 1.กรรมเก่า(ปุราณกัมม) 2.กรรมใหม่(นวกัมม) 3.ความดับแห่งกรรม (กัมมนิโรธ) 4.ข้อปฏิบัติ (มรรคแปด) |
169 |
กรรมเก่า - กายนี้ เป็นกรรมเก่า (กายนี้ ไม่ใช่ของเธอทั้งหลายและทั้งไม่ใช่ของบุคคลเหล่าอื่น) |
S1- 28 |
กรรมดับไปเพราะผัสสะ (กรรมเกิดเพราะผัสสะ ดับเพราะผัสสะ) |
346 |
กรรมดำ- กรรมขาว กรรม ๔ ประการ กรรมดำมีวิบากดำ.. กรรมขาวมีวิบากขาว.. กรรมทั้งดำทั้งขาวมีวิบากทั้งดำทั้งขาว... |
101 |
กรรมดำ- กรรมขาว กรรม ๔ อย่าง อย่างไรเล่า ? (กรรมดำมีวิบากดำ.. กรรมขาวมีวิบากขาว..) |
501 |
กรรม-โลณกสูตร ทำบาปอย่างไร เสวยกรรมนั้น แม้บาปกรรมจะเล็กน้อย ก็นำเขาเข้านรก เพราะไม่อบรม กาย ศีล จิต ปัญญา |
S1- 27 |
กรรม สุข-ทุกข์- ไม่ได้เกิดจากผู้อื่นบันดาล มิจฉาทิฏฐิเรื่องกรรม (กรรม สุขทุกข์ ไม่ได้เกิดจากผู้อื่นบันดาล) |
268 |
กรรมหนัก ทำลายสงฆ์ ต้องเกิดในอบาย ตลอดชั่วกัป เป็นกรรมหนัก เช่นเดียว ทำให้พระพุทธเจ้าห้อเลือด) |
682 |
กรรม-อัญญตรสูตร (เสวยวิบากกรรม) ตรัสกับพราหมณ์ คนนั้นทำเหตุ คนนั้นเสวยผล คนอื่นทำเหตุ คนอื่นเสวยผล |
|
|
2 |
กระ กล่าว กวฬิง กอง ก้อน |
521 |
กระดองของบรรพชิต เหมือนเต่าหดหัวในกระดองซึ่งปลอดภัย ภิกษุก็ต้องควบคุมทวารอินทรีย์ คือตา หูจมูก ลิ้นกายใจ เช่นกัน |
232 |
กล่าวตู่อรหันต์ วุฏฐิสูตร (ข้อพึงระวังในการกล่าวตู่อรหันต์โดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์) |
800 |
กวฬิงการาหาร อาหารคือคำข้าว อุปมาสามีภรรยาเดินทางสู่ที่กันดาร เมื่อเสบียงหมด จึงฆ่าลูกน้อยผู้น่ารัก ทำเนื้อเค็ม เนื้อย่าง |
693 |
กวฬีการาหาร ผัสสาหาร มโนสัญ เจตนาหาร วิญญาณาหาร อาหาร ๔ ...ถ้าอาหารสี่มีวิญญาณตั้งอยู่ความยินดีย่อมมี |
1476 |
กองกุศลที่แท้จริง (กุสลาสี) คือ สติปัฏฐาน ๔ (ต้องละกาย วจี มโน ทุจริตก่อน) |
617 |
กองกระดูกของมนุษย์ที่ตายไปแล้วใหญ่เท่าภูเขาเวลปุลละ ซัดท่อนไม้ในอากาศ- การเกิดเป็นมนุษย์เหมือนเต่าตาบอด.. |
214 |
กองทุกข์-จูฬทุกขักขันธสูตร ว่าด้วยกองทุกข์ (ตรัสกับ มหานาม เรื่องธรรมที่ยังละไม่ได้ ยังครอบงำจิตใจ) |
S3- 40 |
ก้อนข้าวที่ลุกเป็นไฟ (ทุศีลแล้วโดนลงโทษด้วยก้อนไฟที่ง้างเข้าปากจนทะลุทวาร ยังดีกว่าตายๆไปแล้วไปลงนรก) |
222 |
ก้อนข้าวที่ลุกเป็นไฟ (ทุศีลแล้วถูกโยนก้อนเหล็กแดงเข้าปากจนออกทางทวาร ยังดีกว่าตายไปแล้วไปอบาย) |
|
|
3 |
กัป กัสป |
616 |
กัป - อุปมาเรื่องกัป อุปมาการเกิดของสัตว์ ในกัปที่ล่วงไปแล้ว..ความนานของกัป .. ภิกษุชาวปาวาสำเร็จอรหันต์พร้อมกัน 30รูป |
313 |
กัป - ปัพพตสูตร..๑ กัป นานแค่ไหน (อุปมาเขาหินแท่งทึบ 100 ปีลูบด้วยผ้า 1ครั้ง) |
377 |
กัป - ๑ กัปนานแค่ไหน |
726 |
กัปนานแค่ไหน สังสารวัฏหาเบื้องต้นไม่ได้ เบื้องปลายไม่ได้ รวม 10 พระสูตรรวมอุปมาเรื่องกัป ความนานของสังสารวัฏ |
126 |
กัปหนึ่ง นานแค่ไหน ปัพพตสูตร (อุปมาหินแท่งทึบ กว้าง ยาว สูง 1 โยชน์ ทุก 100 ปี ลูบด้วยผ้ากาสี 1 ครั้ง) |
1338 |
ความนานของกัป ความนานของสังสารวัฏ ทรงอุปมาไว้ 23 เรื่อง... สังสารวัฏนี้ หาเบื้องต้นไม่ได้ น้ำนมมารดาที่สัตว์เคยดึ่มกิน... |
S5- 118 |
กัป-แบ่งกัปตามการอุบัติพระพุทธเจ้า(1กัปมีพระพุทธเจ้า 1-5 พระองค์ ภัทรกัปมีพระพุทธเจ้า 5 พระองค์ องค์สุดท้ายเมตไตรย |
385 |
กัปปสูตร อหังการ มมังการ มานานุสัย ความไม่มีอหังการ ยึดว่าเป็นตัวเรา/ มมังการ-สำคัญว่าเป็นตัวเรา/ มานานุสัย-ความถือตัว |
S1- 25 |
กัป-ปัพพตสูตร อายุของกัปนานแค่ไหน (อุปมาลูบหินแท่งทึบ) |
843 |
กัปปินสูตร (มหากัปปินะ) ว่าด้วยอานาปานสติสมาธิ ภิกษ ท.เธอเห็นความไหว ความเอนเอียงแห่งกายของภิกษุนั้น หรือหนอ? |
1340 |
กัปปินะ รวมพระสูตรของพระมหากัปปินะ...อรหันต์ผู้มีฤทธิ์ 4 รูป หายตัวตามพระพุทธเจ้าไปปรากฎในพรหมโลก |
1119 |
กัณฏกสูตร ปฏิปักษ์ ๑๐ ประการ มาตุคามเป็นปฏิปักษ์ต่อพรหมจรรย์ .. เสียงเป็นปฏิปักษ์ต่อปฐมฌาน ..ราคะโทสะเป็นปฏิปักษ์ |
1486-88 |
รวมเรื่องพระมหากัสสป อรหันต์ผู้มีฤทธิ์ (เอตทัคคบาลี ด้านผู้ทรงธุดงค์และสรรเสริญคุณแห่งธุดงค์) |
592 |
กัสสป ท้าวสักกะ ปลอมตัวเป็นชาวบ้านเพื่อรอตักบาตรกับ พระมหากัสสป |
246 |
กัสสป พระมหากัสสปเถระ (ประธานในการสังคายนาครั้งที่1) |
593 |
กัสสปะ ชิณณสูตร พระศาสดาสอบถาม พระมหากัสสป ภิกษุชรา ถึงประโยชน์ของการอยู่ป่าเป็นวัตร |
|
|
4 |
กาม |
S14-43 |
กามคุณ - กามสุข เป็นไฉน |
707 |
กาม พยาบาท เบียดเบียน : เนกขัมมะ อัพพยาปาท อวิหิงสาสนิทานสูตร ... เปรียบเหมือนคบไม้ติดไฟ ต้องรีบละ รีบบรรเทา |
725 |
กาม- มหาทุกขักขันธสูตร : รู้จักคุณ-โทษของกาม/ถ่ายถอน/ การกำหนดรู้รูป รู้จักคุณ-โทษ- การถ่ายถอนซึ่งรูป กำหนดรู้เวทนา |
1151 |
กามฉันทะ ที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น เราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่ง ที่จะเป็นเหตุให้ (บาลีแห่งเอกธรรม วรรค ๒) |
838 |
กามคุณ ยอดสุดแห่งความพอใจ นั่นแหละ เป็นยอดใน เบญจกามคุณ (ปัญจราชสูตร) |
296 |
กามคุณ ๕ พราหมณสูตร (กามคุณ ๕ ประการนี้ เรียกว่าโลกในวินัยของพระอริยเจ้า กามคุณ ๕ ประการเป็นไฉน...) |
512 |
กามคุณ ๕ อย่าง.. รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส หาใช่กามไม่ ความกำหนัดไปตามอำนาจความตริตรึกนั่นแหละ คือ กามของคนเรา |
S5- 96 |
กามคุณ ๕ (ทรงอุปมาเหมือนติดบ่วงนายพราน รูปที่เห็นด้วยตา, เสียงทางหู, กลิ่นทางจมูก, รสทางลิ้น, และโผฏฐัพพะทางกาย) |
S3- 15 |
กาม- อารมณ์อันวิจิตรทั้งหลายในโลกนั้น หาใช่กามไม่ (ความกำหนัดไปตามอำนาจความติตรึก นั่นแหละคือกามของคนเรา...) |
S14-42 |
กาม เป็นของต่ำ เป็นของชาวบ้าน ไม่ใช่ของพระอริยะ |
213 |
กามทั้งหลาย อันบุคคลพึงรู้แจ้ง เป็นอย่างไรเล่า ? (ความตริตึกใน รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส คือกาม) |
1196 |
กามทั้งหลาย เป็นของที่ละได้ยาก สละได้ยาก กาม..มีความปรารถนาเป็นต้นเหตุ มีความกำหนัด ความเพลิดเพลิน คล้อยตามอารมณ์ |
S5- 126 |
กามภพ รูปภพ อรูปภพ ในแง่มุมของการเกิดภายหลังกายแตกทำลาย |
649 |
กามภูสูตร ใจเป็นเครื่องเกาะเกี่ยวของธรรมารมณ์ ธรรมารมณ์เป็นเครื่องเกาะเกี่ยวของใจหามิได้..ความพอใจรักใคร่ที่เกิดขึ้นต่างหาก |
209 |
กามวิตก (ความตริตรึกในกาม) |
553 |
กามวิตก อกุศลวิตก กามวิตก-ความตริตรึกในกาม จึงเกิดกามธาตุ กามสัญญา กามสังกัปปะ กามฉันทะ กามปริฬาหะ..เป็นลูกโซ่ |
715 |
กามสัญญา-อาเนญชสัปปายสูตร มีในภพนี้-ภพหน้า และ กามสัญญา ทั้งที่มีในภพนี้ -ภพหน้า ทั้ง ๒ อย่างนี้เป็นบ่วงแห่งมาร |
872 |
กามสัญโญชน์ (เครื่องรอยรัดในกาม) บทอันประเสริฐ สงบ ไม่มีบทอื่นกว่านี้ นั้น คือรู้เหตุเกิด-ดับ-คุณ-โทษ-อุบาย แห่งผัสสะทั้ง ๖ |
227 |
กามสูตร (กามเลว กามปานกลาง กามปราณีต) |
558 |
กาม (ผู้ติดเหยื่อโลก ชอบฟังเรื่องกาม ไม่ฟังเรื่องสงบ) ตาหูจมูกลิ้นกาย เป็นสิ่งที่น่าปราถนา..เขาย่อมไม่ฟังเรื่องความสงบ |
255 |
กาม (ความรู้เรื่องกาม) กามธาตุ กามคุณ กามวิตก กามภพ กามฉันทะ กามสัญญา กามสังกัปปะ |
643 |
กาม (อุปมา ๓ ข้อ) ตรัสกับภาระทวาชะ การหลีกออกจากกาม เหมือนไม้สดแช่อยู่ในน้ำ-ไม้สดตั้งบนบก-ไม้แห้งเกรอะตั้งบนบก |
846 |
กาม (อุปมากาม ๗ ข้อ) เปรียบเหมือนสุนัขหิว..เหมือนแร้ง..เหมือนหลุมถ่านเพลิง..เหมือนบุรุษฝัน |
1553 |
กาม (อปุมาผู้บริโภคกามเหมือนคนโรคเรื้อน) |
1553 |
กาม (อุปมาเหมือนบุรุษฉุดไปปิ้งย่างบนหลุมถ่านเพลิง) |
725 |
กาม (คุณ-โทษ) การถ่ายถอนออกจากกาม กำหนดรู้รูป รู้จักคุณ- โทษ- การถ่ายถอนซึ่งรูป.. กำหนดรู้เวทนา (มหาทุกขักขันธสูตร) |
|
|
5 |
กาย กายคตาสติ |
1252 |
เมื่อกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ไม่รักษา การตายก็ไม่ดี การทำกาละ ก็ไม่งาม ..ย่อมถึงความพินาศ (กูฏสูตร) |
1571 |
เมื่อกายกระสับกระส่าย จิตของเราจักไม่กระสับกระส่าย อุปมากายเปรียบด้วยฟองไข่..สักกายทิฏฐิ 20 ย่อมเห็นรูปโดยความเป็นตน |
169 |
กายนี้ เป็น “กรรมเก่า”(กายนี้ ไม่ใช่ของเธอทั้งหลายและทั้งไม่ใช่ของบุคคลเหล่าอื่น) |
S1- 24 |
กายนี้ ไม่ใช่ของเธอทั้งหลาย (กายนี้เป็นกรรมเก่า) |
S7- 183 |
กายนี้ ไม่ใช่ของใคร เป็นเพียงกระแสปฏิจจ- กรรมเก่า (กาย) นี้ อันเธอทั้งหลาย พึงเห็นว่าเป็นสิ่งที่ปัจจัยปรุงแต่งขึ้น |
S5- 125 |
กายนี้ ไม่ใช่ของใคร เป็นเพียงกระแสปฏิจจสมุปบาท (กายนี้เป็นกรรมเก่า เป็นสิ่งที่ปัจจัยปรุงแต่งขึ้น เป็นสิ่งที่ปัจจัยทำให้เกิด) |
825 |
กายนคร ที่ปลอดภัย อริยสาวก ประกอบด้วยสัทธรรม ๗ ประการ และเข้าถึง ฌาณทั้งสี่ |
826 |
กายนคร (กึสุกสูตร) อุปมา เมืองคือกาย.. เมืองมี ๖ ประตู คืออายตนะทั้ง ๖... นายประตูคือสติ... เจ้าเมือง คือวิญญาณ |
499 |
กายสูตร ธรรมอันบุคคลพึงละด้วยกาย มิใช่ด้วยวาจาเป็นไฉน ก็ความริษยาอันชั่วช้าเป็นไฉน ก็ความปรารถนาอันชั่วช้าเป็นไฉน |
1345 |
กายสูตร ธรรมอันบุคคลพึงละด้วยกาย มิใช่ด้วยวาจา พึงละด้วยวาจา มิใช่ด้วยกาย เป็นไฉน |
1302 |
กายสักขีเป็นไฉน เพียงเท่าไหรหนอ จึงเรียกว่า กายสักขีบุคคล (กามเหสสูตรที่ ๑ ) |
1604 |
กายสังขาร วจีสังขาร มโนสังขาร เมื่อกายมีอยู่สุขทุกข์ภายในย่อมเกิดขึ้นเพราะกายสัญเจตนาเป็นเหต..สัญญเจตนาของตน-ของผู้อื่น |
551 |
กายออก จิตไม่ออก ลักษณะของบุคคล 4 ประเภท กายออกจิตไม่ออก กายไม่ออกจิตออก กายไม่ออกจิตไม่ออก กายออกจิตออก |
551 |
กายออกจิตไม่ออก-บุคลล ๔ ประเภท :กายออกจิตไม่ออก กายไม่ออกจิตออก กายไม่ออกจิตไม่ออก กายออกจิตออก |
863 |
กาย- การเห็นกาย และ เวทนา ของผู้หลุดพ้น กายนี้ควรเห็นความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เวทนาก็ เป็นของไม่เที่ยง |
|
|
1420-27 |
กายคตาสติ (ชุด1-8) รวมเรื่องกายคตาสติ พระอานนท์สำเร็จเป็นพระอรหันต์ด้วย กายคตาสติ |
418 |
กายคตาสติ- ตั้งจิตในกาย เสมือนบุรุษผู้ถือหม้อน้ำมัน กายคตาสติอันเราเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว กระทำให้เป็นดังยาน |
221 |
กายคตาสติ โทษและคุณของกายคตาสติ (ทรงอุปมาเหมือนจับสัตว์ 6 ชนิด) |
104 |
กายคตาสติ อันชนใดไม่หลงลืม.. (กายคตาสติคือหนทางสู่อมตะ ที่พระองค์อุปมาไว้หลายนัยยะ) |
544 |
กายคตาสติ- อานิสงส์ของกายคตาสติ (นัยที่ ๑) กุศลธรรมย่อมหยั่งลสู่ใจผู้นั้น มารย่อมไม่ได้ช่อง ย่อมไม่ได้โอกาส |
545 |
กายคตาสติ- อานิสงส์ของกายคตาสติ (นัยที่ ๒) กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อได้ปัญญา เพื่อความเจริญแห่งปัญญา |
103 |
กายคตาสติ (มีสติอยู่กับกายในทุกอิริบาบถ ไม่ว่าจะเดิน นั่ง ยืน..) |
721 |
กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน พิจารณาเห็นกายในกาย 6 นัยยะ เดินก็รู้ว่าเดิน รู้ทุกอิริยาบถ พิจารณาเห็นความไม่งาม เห็นเป็นของเน่า |
|
|
6 |
การ กาล กาลาม กาลิก |
1416 |
การเกิด เป็นเหตุให้พบกับ ความทุกข์ เมื่อทารกเจริญวัย อิ่มเอิบด้วยกามคุณ ๕ ย่อมกำหนัดยินดี เสวยเวทนา ย่อมเพลิดเพลิน |
862 |
การกำจัด อกุศลวิตก ภิกษุผู้ประกอบฝึกฝนเพื่อบรรลุอธิจิต พึงกระทำในใจ ถึง นิมิต ๕ ประการ |
807 |
การเข้าวิมุตติ (คำบรรยายจากคลิป) มรรควิธีที่จะบรรลุธรรม หรือทางทุกสายจะมาลงที่โพชฌงค์ 7 วิชชา และวิมุตติ ก็จะปรากฏ |
659 |
การเจริญเมตตา (การแผ่เมตตา) แบบพระพุทธเจ้า พึงหวังอานิสงส์ ๑๑ อย่าง หลับเป็นสุข ตื่นเป็นสุข ไม่ฝันร้าย เทพยดารักษา |
S3-16 |
การนอน อย่างตถาคต เป็นอย่างไรเล่า (เจริญสมาธิ ละความคิดอกุศล เข้าสู่ฌาน 1 2 3 4 ) |
186 |
การเป็นอยู่ที่ไม่เสื่อม พร้อมเพรียงกันเข้าประชุม ประชุมกันเนืองๆ จะไม่เป็นผู้พอใจในการทำงานก่อสร้าง ไม่เป็นผู้พอใจในการคุย |
S3-34 |
การบำรุงที่ดี บำรุงที่เลว (บุคคล..บำรุงกษัตริย์บ้าง พราหมณ์บ้าง บำรุงคนชั้นสูงสมณะ ผู้ปฏิบัติผิด เป็นการบำรุงที่เลว) |
426 |
การบัญญัติสิกขาบท เหตุแห่งการบัญญัติ การบัญญัติสิกขาบทมีมาก มีน้อย และเหตุปัจจัยที่ทำให้พระสัทธรรมเลือนหายไป |
281 |
การพูด ที่ไม่เป็นประโยชน์-วิคคาหิกกถาสูตร (ว่าด้วยการพูดที่ไม่เป็นประโยชน์) และ ติรัจฉานกถาสูตร (เรื่องที่ไม่ควรพูด) |
S1- 39 |
การพูด-ลักษณะการพูดของตถาคต (เรื่องจริง แท้ ประกอบประโยชน์) |
S6- 157 |
การเห็นอันเยี่ยม -อนุตตริยะ ๖ (ภาวะ-สิ่งที่ยอดเยี่ยม)(การเห็นอันเยี่ยม การฟัง การได้ การศึกษา การบำเรอ การระลึก) |
361 |
การเห็นอันเยี่ยม-อนุตตริยะ ๖ (เห็นตถาคต -สดับธรรม -ศรัทธาตถาคต- ฝึกอบรมในอธิศีล -รับใช้พระตถาคต -ระลึกถึงตถาคต) |
S4- 80 |
การเห็นอันเยี่ยม-อนุตตริยะ ๖ สิ่งที่ยอดเยี่ยม เห็นตถาคต-สดับธรรม-ศรัทธาตถาคต-อบรมในอธิศีล-บำรุงรับใช้ตถาคต-ระลึก |
879 |
* การสนทนาธรรม ที่ทำให้เกิดปิติ ระหว่าง ธรรมทินนาภิกษุณี กับ วิสาขา-อุบาสก (จูฬเวทัลลสูตร) |
411 |
* การสนทนาธรรม ที่ทำให้เกิดปิติ ระหว่าง ธรรมทินนาภิกษุณี กับ วิสาขา-อุบาสก (จูฬเวทัลลสูตร) |
362 |
* การสนทนาธรรม ที่ทำให้เกิดปิติ ระหว่าง พระสารีบุตร กับ พระมหาโกฏฐิกะ (มหาเวทัลลสูตร) |
1510 |
การสิ้นไปแห่งอาสวะ วิมุตติอิงอาศัยญาณในธรรม วิราคะอิงอาศัยวิมุตติ นิพพิทาอิงอาศัยแห่งวิราคะ ทัสสนะอิงอาศัยนิพพิทา |
919 |
กาลทานสูตร ๕ ประการ (อานิสงส์ในฐานะผู้ให้) ให้อายุ วรรณะ สุข กำลัง ปฏิภาณ ย่อมได้ที่เป็นทิพย์(เทวดา) และของมนุษย์ |
474 |
กาลามสูตร (เกสปุตตสูตร) อย่ายึดถ้อยคำที่ได้ยินมา อย่ายึดถ้อยคำที่สืบๆกันมา อย่าตื่นข่าวที่ได้ยิน อย่ายึดถือโดยอ้างตำรา |
1068 |
กาลิก .. ของฉัน ๔ อย่าง ๑.ยามกาลิก-น้ำปานะ ๒.ยาวกาลิก-อาหาร ๓. สัตตาหกาลิก-น้ำผึ้ง น้ำอ้อย ๔. ยาวชีวิก-ยารักษาโรค |
1347 |
กาลีสูตร กสิณ ๑๐ ที่สมณะพราหมณ์ปฏิบัติ ทรงเห็นว่ามีทั้งบรรลุประโยชน์ เป็นความสงบในใจ |
|
|
7 |
กำเนิด กำลัง กิมัต กิเลส กุมภ |
S8-241 |
กำเนิด ๔ (ลักษณะของการเกิด) การเกิดของสัตว์ในคติ 5 เกิดในไข่ เกิดในครรภ์ เกิดในเถ้าไคล เกิดผุดขึ้น(โอปปาติกะ) |
283 |
กำเนิดโลก-อัคคัญญสูตร-ง้วนดิน (ว่าด้วยต้นกำเนิดของโลก เรื่องสามเณรชื่อวาเสฏฐะ และสามเณรชื่อภารทวาชะ) |
614 |
กำเนิดสัตว์- ง้วนดิน -โลกธาตุ (คัดย่อจากพระสูตร อัคคัญญสูตร) คัดย่อเป็น 28 หัวข้อ เพื่อความเข้าใจได้ง่ายขึ้น |
713 |
กำลังของตถาคต ๑๐ ประการ ย่อมรู้ ฐานะและ รู้เหตุมิใช่ฐานะในโลกนี้ .. รู้วิบากของกรรมที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน |
747 |
กิมัตถิยสูตร อานนท์ถามพระศาสดา ศีลที่เป็นกุศล มีอะไรเป็นผล มีอะไรเป็นอานิสงส์ พ.ความไม่เดือดร้อนทั้งผล และเป็นอานิสงส์ |
248 |
กิรสูตรที่ ๑ ตาบอดคลำช้าง ย่อมคิดว่ารูปร่างช้างแตกต่างกัน |
249 |
กิรสูตรที่ ๒ ทิฐิ (วาทะ) ๑๖แบบ ของพราหมณ์ปริพาชก ผู้มีลัทธิต่างกัน |
115 |
กิเลส - สัลเลขธรรม (ความขูดเกลากิเลส 35 ประการ..เมื่อผู้อื่นเป็นผู้เบียดเบียน เราจักเป็นผู้ไม่เบียดเบียน) |
S3- 18 |
กุมภสูตร ธรรมเครื่องรองรับจิต (มรรค8 เปรียบเหมือนหม้อ เครื่องรองรับจิต ไม่ให้กลิ้งไปได้) |
|
|
8 |
กุศลกรรม กุศลธรรม กุศล กุศราสี |
1610 |
กุศลกรรมบถ ๑๐ อกุศลกรรมบถ ๑๐ (ฉบับหลวง) กรรมส่งผลใน 3 เวลา 1.ปัจจุบัน 2.ในอัตภาพถัดไป 3.ในอัตภาพต่อๆไป |
256 |
กุศลกรรม และ อกุศลกรรมบถ ๑๐ (ความสะอาดทางกาย ๓ อย่าง ทางวาจา ๔ อย่าง ทางใจ ๓ อย่าง) |
S4- 53 |
กุศลกรรมบถ ๑๐ : อกุศลกรรมบถ ๑๐ (สัมมาทิฐิ/มิจฉาทิฐิ) |
771 |
กุศลกรรมบถ ๑๐ ๒๐ ๓๐ ๔๐ ( ธรรม ๑๐ ๒๐ ๓๐ ๔๐ ประการ ) ผู้ถูกทอดทิ้งในนรกนรก และผู้ถูกเชิญมาไว้ในสวรรค์ |
589 |
กุศลกรรมบถ ๑๐ และ อกุศลกรรมบถ ๑๐ (ยถาภตสูตร)บุคคลผู้ประกอบอกุศลกรรมบถ10 เหมือนผู้ถูกทิ้งไว้ในนร ถูกนำมาทิ้ง |
106 |
กุศลกรรมบถ ๑๐ (กรรมอันเกิดจากการกระทำทางกาย วาจา ใจ) |
S9-031 |
ผู้สมบูรณ์ด้วย กุศลกรรมบถ ๑๐ ย่อมสะอาดทั้งกาย วาจา ใจ แม้จะบำเรอไฟ ก็เป็นคนสะอาด แม้จะไม่บำเรอไฟ ก็เป็นคนสะอาด |
S1- 32 |
กุศลกรรมบถ ๑๐ (ทางกาย 3 วจีกรรม 4 มโนกรรม 3) |
368 |
กุศลกรรมบถ ๔๐ สรุปย่อพระสูตร กุศลธรรมบถ ๑๐ -๔๐ การมุ่งความเพียรที่เข้มข้นมากขึ้นตามลำดับทั้งเพื่อตนเองและผู้อื่น |
435 |
กุศลธรรม พาหิยสูตร ศีล เป็นเบื้องต้นแห่งกุศลธรรม |
861 |
กุศลวิตก หรือ สัมมาสังกัปปะ เนกขัมมวิตก อัพ๎ยาปาทวิตก อวิหิงสาวิตก |
208 |
กุศลวิตก หรือ สัมมาสังกัปปะ (ความนึกคิดในส่วนละเอียด) |
1033 |
กุศลราสี ที่แท้จริง (พระสูตรเต็ม สติปัฎฐาน ๔ คือ กองกุศล- พระสูตรเต็ม |
1033-1 |
กุศลราสี ที่แท้จริง (พระสูตรย่อ) สติปัฎฐาน ๔ คือ กองกุศล - แบบย่อ |
1034 |
(อกุศลราสี)นิวรณ์ ๕ คือ กองอกุศล เปรียบแม่น้ำที่ไหลลงจากภูเขาสู่ที่ไกล จักไม่ซัดไม่ส่ายไหลไม่ผิดทาง |
|
|
9 |
กู กู้ เกวัฏ เกวียน เกาะ |
S4- 77 |
กูเป็นโค (ลาที่เดินตามฝูงโค แล้วร้องว่า “กูก็เป็นโค" ก็ไม่ต่างกับภิกษุที่ไม่ประพฤติสีลสิกขา แต่ก็ประกาศว่า ข้าเป็นภิกษุุ) |
235 |
กู้หนี้ ใช้หนี้ - อุปมานิวรณ์ เปรียบเหมือนบุรุษจะพึงกู้หนี้ไปประกอบการงาน |
293 |
เกวัฏฏสูตร.. เรื่องนายเกวัฏฏ (ชาวประมง) สอบถามพระพุทธองค์เรื่องอิทธิปาฏิหาริย? อันเป็นธรรมยิ่งยวด |
457 |
เกวียน ๕๐๐ เล่ม ผ่านอาศรมของ อาฬารดาบส แต่ดาบส ไม่ได้ยินเสียง ไม่ได้เห็น ...ช่างอัศจรรย์หนอ |
S7-215 |
เกาะ-มีตนเป็นเกาะ มีตนเป็นที่พึ่ง พิจารณาเห็นกายในกาย เห็นเวทนาในเวทนา เห็นจิตในจิต เห็นธรรมในธรรม(สติปัฏฐาน๔) |
|
|
10 |
เกิด แก้ว โก โกฏ โกรธ โกหก |
680 |
เกิด-ความเกิดและความดับแห่งโลก โลกนิโรธสูตรเพราะอาศัยจักษุและรูป เกิดจักขุวิญญาณ .เพราะตัณหาดับด้วยสำรอก |
S1-15 |
เกิดปรากฏ เสื่อมปรากฏ เมื่อตั้งอยู่ ก็มีภาวะอย่างอื่นปรากฏ.. สังขต ระบบที่ปรุงแต่งได้- อสังขต-ระบบที่ปรุงแต่งไม่ได้ |
1145 |
แก้ว ๗ ประการ (ย่อ) ของพระเจ้าจักรพรรดิ (พาลบัณฑิตสูตร) 1.จักรแก้ว2.ช้างแก้ว3.ม้าแก้ว4.มณีแก้ว5.นางแก้ว6.ขุนคลังแก้ว |
1146 |
แก้ว ๗ ประการ ของพระเจ้าจักรพรรดิ (พาลบัณฑิตสูตร) พระสูตรเต็ม พระเจ้าจักรพรรดิ ประกอบด้วยความสัมฤทธิผล ๔ อย่าง |
|
|
487 |
โกกาลิกสูตร ภิกษุชื่อโกกาลิกะ กล่าวตู่พระสารีบุตร และพระโมคคัลลานะ ว่าเป็นผู้มีความปรารถนาลามก จึงไปเกิดในปทุมนรก |
648 |
โกฏฐิกสูตร จักษุ เป็นเครื่องเกาะของรูป รูปเป็นเครื่องเกาะของจักษุ ..หามิได้ ความพอใจเพราะอาศัยจักษุและรูปนั้น คือเครื่องเกาะ |
110 |
โกรธ - ความโกรธกับบุคคล ๓ จำพวก (อุปมารอยขีดบนแผ่นหิน แผ่นดิน แผ่นน้ำ) |
581 |
โกรธ - ชนะความโกรธ ด้วยความอดกลั้น บุคคลผู้ไม่โกรธตอบต่อผู้ที่โกรธ ย่อมชื่อว่า ชนะสงครามซึ่งเอาชนะได้ยาก |
582 |
โกรธ - สงครามโต้ตอบกันด้วยวาทะ ระหว่าง เทวดากับอสูร ท้าวสักกะชนะท้าวเวปาจิตตอสูร |
1733 |
ธรรม ๗ ประการของผู้มักโกรธ (โกธนาสูตร) ผิวพรรณทราม นอนเป็นทุกข์ มีแต่ความฉิบหาย ได้ยศก็เสื่อมยศ ตายไปเข้าถึงอบาย |
S9-34 |
โกหก - ไม่โกหกกัน แม้เพียงเพื่อหัวเราะเล่น |
1097 |
โกศลสูตรที่ ๑ สิ่งที่ว่าเลิศทั้งหลาย ก็ยังมีความแปรปรวน แม้ท้าวมหาพรหมผู้เป็นเลิศ ผู้ได้กสิณ ๑๐ ผู้เข้าถึงเนวสัญญา |
1449 |
โกฏฐิตะภิกษุ สนทนากับ พระสารีบุตรกับ ชรามรณะบุคคลกระทำเองหรือหนอ? สา..กระทำเองก็ไม่ใช่ บุคคลอื่นกระทำก็ไม่ใช่ |
247 |
โกสัมพีสูตร ภิกษุชาวเมืองโกสัมพี ทะเลาะวิวาทกันด้วยหอกปาก ทรงโปรดภิกษุชาวเมืองโกสัมพี |
1489 |
ภิกษุชาวเมืองโกสัมพี ทะเลาะกัน นางวิสาขามิคารมาตาเข้าเฝ้าทูล ถามข้อปฏิบัติ |
|