เว็บไซต์ อนาคามี เผยแพร่คำพระศาสดา เผยแพร่คำสอนตถาคต เว็บไซต์เผยแพร่พระสุตรคำสอนของพระพุทธเจ้า คลิปคำสอน คลิปสาธยายธรรม
  เรียงตามอักษรชุด 13/1
ค้นหาคำที่ต้องการ     

 
2 2 3 4 5 6 7 8 9  
 
10 11 12 13 14

(13/1) หมวด ส
1 สข สคารว สง
สงฆ์ สงสัย สสัง ส่วน
2 สตรี สตา
สติ สติปัญญา
3 สติปัฎฐาน ๔
สติสัมโพชฌงค์
4 สถูป สนิ สภิ สม
สมณะ สมัย
5 สมาธิ 6 สมุท สรี สวรรค์
สฬายตนะ สอุปา สะดุ้ง
7 สักกะ
สักกาย สักแต่
8 สังกัป สังกิจ สังขต
สังขิต สังขาร
9 สังคัย สังคาย สังคีติ
สังฆ สังโยชน์ สังวา
10 สังสาร
สัจ
11 สัญญา สัญโญชน์
สัตต สัตตา สัตติม
12 สัตว์
สัตตานัง
13 สัทธรรม สัทธา
สัน สัป สัพ
14 สัมป สัมปรา สัมผัป
สัมพาธ สัมม สัมมา
15 สัล สัส สาก สาเกตุ สาค
สาติ สาม สามัญ สารา สารีบุตร
16 สาเลย สาวก สาวัต สาสวะ
สาฬ สำรวม สำรอก สิกขา
17 สิ่ง สิ่งใด สิ่งทั้งปวง
สิ่งที่ สิ่งนี้ สิ่งยอด
18 สิ้น สิเนรุ สีล
สีห สุกร
19 สุข สุขต
สุคติ สูญญ สุด
20 สุตต สุตตะ สุทธา สุนทริก สุนัก สุนัข
สุเนต สุปัป สุภัททะ สุรา สุริย สุสิม สูญ สุมณ
21 เสข เสขะ
เสพ เสา เสียง เสื่อม
22 แสง แสดง
โสดาบัน โสตา โสอัตต

1 สข สคารว สง สงฆ์ สงสัย ส่วน
1307 สขสูตรที่ ๑ (มิตรที่พึงคบหา) ให้ของที่ให้ได้ยาก รับทำกิจที่ทำได้ยาก อดทนถ้อยคำที่อดใจได้ยาก บอกความลับของตนแก่เพื่อน ..
642 สคารวสูตร สคารวรมานพเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า ทรงลำดับเหตุการณ์ตั้งแต่ก่อนตรัสรู้ จนถึงการตรัสรู้
120 สคารวสูตร นิวรณ์ ๕ (นิวรณ์เป็นปัจจัยให้มนต์ไม่แจ่มแจ้ง นิวรณ์มี ๕ ประการ เป็นเครื่องปิดกั้นหรือขัดขวางไม่ให้บรรลุความดี)
S1-40 สงเคราะห์ผู้อื่นด้วยรู้อริยสัจ ทุกข์ เหตุเกิด เหตุดับ วิธีดับทุกข์
S2- 43 สงฆ์แตกกัน ผู้ที่ทำลายสงฆ์ให้แตกแยกกัน (แสดงสิ่งไม่ใช่เป็นธรรม..)
266 สงฆ์แตกแยก สังฆเภท (ทำสงฆ์ให้แตกแยก ทำลายสงฆ์ แยกกันทำอุโบสถกรรม แยกกันทำปวารณากรรม)
265 สงฆ์แตกแยก สังฆราชี (ความไม่ลงรอยในองค์สงฆ์ตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไป มีความเห็น การประพฤติปฏิบัติไม่เสมอกัน....) 
267 สงฆ์แตกแยก สังฆสามัคคี (ความพร้อมเพรียงในสงฆ์ ไม่วิวาทกัน ฟังปาติโมกข์ร่วมกัน มีวัตรปฏิบัติเสมอกัน )
258 สงสัยเคลือบแคลง เจโตขีลสูตร  ยังสงสัยเคลือบแคลงใน พระศาสดา พระธรรม พระสงฆ์ สงสัยในสิกขา มีจิตโทสะ
1269 สรภสูตร ปริพาชกสรภะ พูดในบริษัทว่า ธรรมของพระตถาคตเรารู้ทั่วถึงแล้ว พ.ถามกลับว่า ท่านรู้ทั่วถึงแล้วว่าอย่างไร สรภะนิ่งเสีย
1226 สสังขารปรินิพพายี อสังขารปรินิพพายี นิพพานปัจจุบัน-หลังกายแตก
1497 ส่วนสุด อะไรคือส่วนสุดที่๑ อะไรคือส่วนสุดที่๒ อะไรเป็นท่ามกลาง อะไรเป็นเครื่องร้อยรัด ผัสสะเป็นส่วนสุดที่๑ เหตุเกิดคือส่วนสุดที่๒
1316

ส่วนสองเป็นไฉน จักษุ-รูป/โสตะ-เสียง/ฆานะ- กลิ่น/ชิวหา- รส..วิญญาณเกิดขึ้นเพราะอาศัยส่วนสอง จักษุวิญญาณอาศัย จักษุ-รูป


2 สตรี สตา สติ สติปัญญา
253 สตรี- รูป เสียง กลิ่น รส โผฏ - ของสตรี ย่อมครอบงำบุรุษ...  รูป เสียง กลิ่น รส โผฏ - ของบุรุษ ย่อมครอบงำสตรี 
1150 สตรี- รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสของสตรี.... ย่อมครอบงำจิตของบุรุษ
155 สตาปารัทธสูตร สัตว์ย่อมคบกันด้วยธาตุ (สัตว์ทั้งหลายย่อมคบค้ากัน สมาคมกัน โดยธาตุคนเลวย่อมสมาคมกับคนเลว)
S4- 58 สติ กับ สัมปชัญญะ ..ภิกษุทั้งหลาย ! ภิกษุ พึงเป็นผู้มีสติอยู่ อย่างมีสัมปชัญญะ
S5- 104 สติ อยู่ส่วนไหนของขันธ์ ๕... ปัญญา สติ กับนามรูปดับ เพราะวิญญาณดับ
285 สติ-ปัญญา ดับเมื่อใด อชิตสูตร (สติและปัญญา ดับไปเมื่อใด ดับไปเมื่อวิญญาณดับ)

3 สติปัฎฐาน๔ สติปัฏฐานสูตร สติสัมโพชฌงค์
S2- 68 สติปัฎฐาน ๔ ที่เที่ยวของจิต (สติปัฏฐาน4 กาย เวทนา จิต ธรรม)
167 สติปัฎฐาน ๔ การรู้ลมหายใจ ทำให้ - สติปัฎฐาน 4 บริบูรณ์... โพชฌงค์ 7 บริบูรณ์.. วิชาวิมุติ บริบูรณ์
455 สติปัฏฐาน ๔ ปัจฉิมคาถา สติปัฏฐาน๔ สัมมัป๔ อินทรีย์๕ พละ๕ โภชฌงค์๗ มรรค๘ ศีล-สมาธิ-ปัญญา-วิมุตติ มหาประเทศ ๔
721 สติปัฎฐาน ๔ กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน พิจารณาเห็นกายในกาย 6 นัยยะ เดินก็รู้ว่าเดิน รู้ทุกอิริยาบถ พิจารณาเห็นความไม่งาม
722 สติปัฎฐาน ๔ เวทนานุปัสนาสติปัฏฐาน สุขเวทนาก็รู้ ทุกขเวทนา..อทุกขมสุข ก็รู้ นี้เรียกว่าเห็นเวทนาในเวทนา..อุเบกขาอิงอามิส
723 สติปัฎฐาน ๔ จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน พิจารณาเห็นจิตในจิต...จิตมีราคะก็รู้ชัดว่าจิตมีราคะ มีโทสะก็รู้ชัดว่าจิตมีโทสะ..
724 สติปัฎฐาน ๔ ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน นีวรณบรรพ เมื่อกามฉันทะ..พยาบาท.. ถีนมิทธะ... อุทธัจจะ..วิจิกิจฉา.. มีอยู่ในจิต
195 สติปัฏฐานสูตร ว่าด้วยการเจริญสติปัฏฐาน
720 สติสัมโพชฌงค์ โพชฌงคบรรพ โพชฌงค์ ๗ อย่างไรเล่า? เมื่อสติสัมโพชฌงค์มีอยู่ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่าสติสัมโพชฌงค์มีอยู่

4 สถูป สนิ สม สมณะ สมัย
1002 สถูป ถูปารหบุคคล บุคคล ๔ จำพวก ผู้สมควรสร้างสถูป เพื่อผู้เห็นจะยังจิตให้เลื่อมใส ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์
707 สนิทานสูตร กาม พยาบาท เบียดเบียน : เนกขัมมะ อัพพยาปาท อวิหิงสา ... เปรียบเหมือนคบไม้ติดไฟ ต้องรีบละ รีบบรรเทา
783 สนิทานสูตร.. ว่าด้วยธรรมที่เป็นต้นเหตุ
1353 สภิยปริพาชก (ฉบับหลวง) ถามปัญหาเหล่าปริพาชก แล้วแก้ไม่ได้ จึงทูลถามพระผู้มีพระภาค
1354 สภิยปริพาชก (มหาจุฬา) ถามปัญหาเหล่าปริพาชก แล้วแก้ไม่ได้ จึงทูลถามพระผู้มีพระภาค
  ผู้ฝึกตนแล้วเป็นอย่างไร: ผู้รู้เป็นอย่างไร: บุคคลผู้บรรลุอะไรว่าเป็นพราหมณ์: ผู้ใดล้างบาปได้หมดในโลก: ผู้ชนะเขต: ผู้หลุดจากกรรม
1039 สมชีวิสูตร คู่บุพเพสันนิวาส สามีภรรยาหวังพบกันทั้งปัจจุบันและสัมปรายภพ ทั้งสองพึงมี ศรัทธา-ศีล-จาคะ-ปัญญา เสมอกัน
S5- 87 สมณกิจ (สมณะต้องทำมีสามอย่าง ปฏิบัติในศีล ในจิต ในปัญญา)
S1- 11 สมณสากยปุตติยะ ที่แท้จริง (มีความศรัทธาอย่างมั่นคง)
156 สมณะ ๑ ๒ ๓ มีในธรรมวินัยนี้เท่านั้น (สมณะที่ 1 สมณะที่ 2 สมณะที่ 3 สมณะที่ 4)
S5- 88 สมณะ ผล และ ประโยชน์ของความเป็นสมณะ (อริยอัฏฐังคิกมรรค หรือมรรค8 นี้อย่างเดียวเท่านั้น
881 สมณะ ข้อปฏิบัติอันดียิ่งของสมณะ จูฬอัสสปุรสูตร ภิกษุมีอภิชฌามาก ยังละไม่ได้ มีจิตพยาบาท ยังไม่เรียกว่า สมณะ
676 สมณะโคดม- โทณสูตร พระสมณะโคดม ไม่อภิวาท ไม่ลุกรับ หรือไม่เชื้อเชิญด้วยอาสนะ ซึ่งพราหมณ์ ผู้แก่เฒ่า
S3- 35

สมณะ ผลประโยชน์ของความเป็นสมณะ (ได้ความเป็นอริยะบุคคล ได้ความสิ้นไปแห่งราคะ โทสะ โมหะ เข้าใจมรรค8 )

S4- 41

สมณะ ผู้ทำสมคำปฏิญาณว่า “สมณะ” (ปฏิญาณตัวเองว่าเป็นสมณะ เราจะประพฤติถือเอาด้วยดีซึ่งธรรมเหล่านั้น )

S4- 78 สมณะ ผู้ที่ถือว่าไม่ได้เป็นสมณะ (๗ นัยยะ) (ไม่รู้ขันธ์ห้า-อุปาทานขันธ์-ธาตุสี่-อินทรีย์หก-อินทรีย์ห้า-ไม่รู้ปฏิจจ-ไม่รู้อริยสัจจ์)
1700 สมณะ ไม่รู้ธรรมเหล่าใด ไม่รู้เหตุเกิด ไม่รู้เหตุดับ และปฏิปทา ยังไม่นับว่าเป็นสมณะ
S6- 144 สมถะ วิปัสสนา สมถะจิตมีอารมณ์เดียว (เอตทัคคะ)รู้ลมหายใจ หรือมีจิตอยู่กับกาย วิปัสสนาคือปัญญา เห็นการเกิด-ดับ
1435 สมัย ที่ไม่สมควร กระทำความเพียร ๕ ประการ และสมัยที่สมควรกระทำความเพียร ๕ ประการ (สมยสูตร)
252 สมัยใด พวกภิกษุเลวทรามมีกำลัง สมัยนั้น พวกภิกษุที่มีศีลเป็นที่รักย่อมถอยกำลัง

5 สมาธิ
S4- 50 สมาธิ ๙ ระดับ (รูปสัญญา4 อรุปสัญญา4 และสัญญาเวทยิตนิโรธ.. แต่ระดับ๙ ไม่ใช่สัตตาวาสของสัตว์)
556 สมาธิ ๙ ระดับ : ธรรม ๙ อย่างที่ควรรู้ ควรทำให้แจ้งเป็นไฉน (อนุบุพพวิหาร ๙) สมาธิ ๙ ระดับ
348 สมาธิ ๙ ระดับ เทวดาชั้นพรหม-อายุ (ระดับของสมาธิ ๙ ระดับ.. รูปสัญญา ฌาน 1-4 / อนาคามี 5 ระดับ/ อรูปสัญญา 5 ระดับ)
271 สมาธิ ๙ ระดับ ..ฌาน 1 2 3 4 และ อรูปสัญญา อีก 5 ระดับ
428 สมาธิ ๙ ระดับ ฌานสูตร สมาธิ ๙ ระดับ การสิ้นไปแห่งอาสวะ
S3- 30

สมาธิ ๙ ระดับ-สงบในสมาธิ ๙ ระดับ (รูปสัญญา4 อรูปสัญญา 4 สัญญาเวทยิตนิโรธ)

1106 สมาธิ ๙ ระดับ- อนุปุพพนิโรธสูตร ๙ ประการ ความดับไปตามลำดับ อกุศลย่อมดับในปฐมฌาน..วิตกวิจารฌานย่อมดับ
1490 สมาธิขั้นสูง (โลกุตตรสมาธิ) (สมาธิสูตรที่๑ สูตรที่๒ สูตรที่๓ สูตรที่๔ ) สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่
1201 โลกุตตรสมาธิ สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่
1209 เจโตสมาธิ (อันไม่มีนิมิต) ที่สามารถเพิ่มผาสุกทางกาย
1105 สมาธิ แบ่งตามความประณีตของธาตุ มี 2 ประเภท...1.สัมมาสมาธิอันเป็นอริยะ 2 สมาธิ 9 ระดับ และ สัญญาเวทยิต(ช่วงลำแสง)
316 สมาธิ การเข้าสมาธิของสารีบุตร อนุปทวรรค (ตรัสชม สารีบุตรีปัญญามาก พร้อมแสดงการเข้าสมาธิ 9 ระดับ แต่ละขั้น)
S5- 97 สมาธิ เจริญสมาธิชื่อว่ากำลังโน้มสู่นิพพาน (น้อมไป โน้มไป โอนไป..ย่อมเข้าถึงปฐมฌาน- ทุติย- ตติย- จตุตถฌาน)
S5- 130 สมาธิ ทำแล้วง่วง-ทรงแสดงอุบายแก่พระโมคคัลลานะ พิจารณาธรรม..เดินจงกลม..ยอนหู...ลูบตา น้ำลูบหน้า..นอน
369 สมาธิ แบบพระพุทธเจ้า มีสติหายใจเข้า มีสติหายใจออก เธอย่อมทำการฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้รู้พร้อม เฉพาะซึ่งกาย
S6- 134 สมาธิ และสังขาร (ตรัสกับนางวิสาขา)
716 สมาธิ อาเนญช (อาเนญชสมาธิ อาเนญชสมาบัติ อาเนญชาภิสังขาร อาเนญชสัญญา) จากพระไตรปิฏก- คัดเฉพาะพุทธวจน
1401 สมาธิ เจริญสมาธิเฉพาะส่วน เพื่อไม่ให้(อีกฝ่ายหนึ่ง) เห็นรูปทิพย์
1317 สมาธิสูตร / ปฏิสัลลีนสูตร เธอจงเจริญสมาธิเถิด ผู้มีจิตตั้งมั่นแล้วย่อมรู้ตามความเป็นจริงว่าจักษุ- รูปทั้งหลาย-จักษุวิญญาณไม่เที่ยง
1631 สมาธิสังยุต ผู้เลิศในสมาธิ ผู้ได้ฌานที่ฉลาดในการตั้งจิตมั่น และฉลาดในการเข้าสมาธิ นับเป็นผู้เลิศ
1202 สมาธิที่เป็นอสังขตมนสิการ (สมาธิที่มีนิพพานเป็นอารมณ์) สมาธิที่ไม่กระทำในใจ ซึ่งจักษุและรูป โสตะและเสียง ฆานะและกลิ่น
1205 อานุภาพแห่งสมาธิ ภิกษุผู้มีมีจิตตั้งมั่น เป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ได้ตามที่เป็นจริง นี้เป็นทุกข์ นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์
1207 สมาธิ.. แม้เพียงปฐมฌาน ก็ชื่อว่าเป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร
1214 รักษาโรคด้วยสมาธิ คือ สัญญา ๑๐ ประการ อนิจจสัญญา อนัตตสัญญา อสุภสัญญา อาทีนวสัญญา ปหานสัญญา วิราคสัญญา
1215 ข้าศึกแห่งสมาธิ นิวรณ์ เครื่องกางกั้น ๕ อย่าง กามฉันทนิวรณ์ พยาปาทนิวรณ์ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจกุกกุจจนิวรณ์ วิจิกิจฉานิวรณ์
1219 เสี้ยนหนามต่อสมาธิ ๑๐ อย่าง ความยินดีหมู่คณะ เป็นเสี้ยนหนามต่อการปลีกวิเวก การดูการเล่นเป็นเสี้ยนหนามต่อสังวรณ์อินทรีย์
   

6 สมุท สรี สวรรค์ สฬายตน สอุปา สะดุ้ง
583 สมุททกสูตรที่ ๑๐ ฤาษีไปพบอสูร เพื่อขออภัยทานแต่อสูรไม่ให้บอกให้ได้แต่ภัยเพราะฤาษีคบเทวดา อสูรจึงถูกฤาษีแช่งจนตกใจ
S9-025 สรีระตถาคต พระศาสดาไม่ให้อานนท์สนใจกับพระสรีระของพระองค์นัก ทรงให้จัดการเช่นเดียวกับพระเจ้าจักรพรรดิ์
387 สวรรค์ เทวดาแต่ละชั้น กามภพ รูปภพ อรูปภพ ภพภูมิเทวดามีทั้งหมด 26 ชั้น แบ่งเป็น กามภพ 6 รูปภพ 16 อรูปภพ 4
152 สวรรค์ เทวดาแต่ละชั้น เทียบเวลา กับโลกมนุษย์ (50 ปีมนุษย์คือ1คืนเทวดาจาตุมหาฯ. 1600 ปีมนุษย์ คือ1วัน1คืน
349 สวรรค์ เทวดามี ๓ ชั้น กามภพ รูปภพ อรูปภพ มีอายุขัย และเสพกามต่างกัน
348 สวรรค์ อายุของเทวดาชั้นพรหม (ระดับของสมาธิ ๙ ระดับ.. รูปสัญญา ฌาน 1-4 / อนาคามี 5 ระดับ/ อรูปสัญญา 5 ระดับ)
288 สฬายตนวิภังคสูตร (จำแนกสฬายตนะโดยละเอียด)
698 สฬายตนวิภังคสูตร (ฉบับมหาจุฬา) อายตนะภายใน๖..ภายนอก๖..วิญญาณ๖...ผัสสะ๖.. มโนปวิจาร๑๘.. สัตตบท ๓๖ (มีผัง) 
(288) สฬายตนวิภังคสูตร (ฉบับหลวง) (จำแนกสฬายตนะโดยละเอียด)
599 สอุปาทิเสสนิพพานธาตุ (นิพพานธาตุ ๒ ประการ) สอุปาทิเสส กับ อนุปาทิเสส ความแตกต่างของอรหันต์ 2 ประเภท
S13-24 สะดุ้งกลัวต่อความตาย -บุคคลที่สะดุ้งกลัวต่อความตาย และไม่สะดุ้งกลัวต่อความตาย เป็นไฉน
523 สะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน อุมิคสาลาสูตรปาทานไม่สะดุ้งหวาดเสียว เพราะไม่มีอุปาทานในความแปรปรวนของ รูป เวทนา
S12-30 ไม่สะดุ้ง เมื่อฟ้าผ่าไม่สะดุ้ง (อรหันต์ขีณาสพ+ม้าอาชาไนย) (ขีณาสพ+ช้างอาชาไนย) (ขีณาสพ+ราชสีห์)

7 สักกะ สักกาย สักแต่
1645 รวมเรื่องท้าว สักกะจอมเทพ (หลายพระสูตร P1645 1646 4677 1678 1649 1650)
1041

สักกะ คุณธรรม ๗ ประการ เพื่อความเป็นท้าวสักกะ (พระอินทร์) เลี้ยงมารดาบิดา อ่อนน้อม พูดอ่อนหวาน ละความตระหนี่

1041

สักกะ คุณธรรม ๗ ประการ เพื่อความเป็นท้าวสักกะ (พระอินทร์-ดาวดึงส์) เลี้ยงมารดาบิดา อ่อนน้อมพูดอ่อนหวานละความตระหนี่

592 สักกะ ท้าวสักกะจอมเทพเทวดาชั้นดาวดึงส์ ปลอมตัวเป็นชาวบ้านเพื่อรอตักบาตรกับ พระมหากัสสป
592 สักกะ ปิณฑปาตสูตร ท้าวสักกะจอมเทวดาชั้นดาวดึงส์ ปลอมตัวเป็นชาวบ้านเพื่อรอตักบาตรกับ พระมหากัสสป
S7-194 สักกะจอมเทพ กรรมที่ทำให้ไม่ตกต่ำ พระองค์เล่าอดีต ในชั้น อภัสรพรหม เป็นสักกะจอมเทพถึง 36 ครั้ง อันเนื่องจาก ทาน-ทมะ-
584 สักกะจอมเทพ-ฤาษีมีกลิ่น ท้าวสักกะ และท้า วเวปจิตติจอมอสูร เข้าพบฤาษี.. ท้าวสักกะให้เกียรติฤาษีแต่ท้าวเวปไม่ให้เกียรติ
413 สักกะ เทวสูตร ท้าวสักกะจอมเทพ อดีตเคยเป็นมนุษย์ เป็นผู้สมาทานวัตรบท 7 ประการ จึงได้มาเกิดมาเป็นเทวดาชั้นดาวดึงส์
1056 สักกายะทิฎฐิ : สักกายะคือ สักกายสมุทัยคือ สักกายนิโรธคือ สักกายนิโรธคามินี- สักกายะทิฐิมีได้อย่างไร อย่างไรจึงจะไม่มี
S6- 135 สักกายทิฏฐิ (ตรัสกับนางวิสาขา)
549 สักกายะทิฐิ รอบรู้ซึ่งสักกายะ และ เหตุเกิดแห่งสักกายทิฏฐิ รอบรู้สักกายสมุทัย นิโรธ นิโรธคามินี...รอบรู้เหตุเกิดสักกายทิฏฐิ
196 สักแต่ว่า ตรัสแก่มาลุงกายบุตร ... โดยพิศดาร (นัยที่ ๒)
623 สักแต่ว่า สังคัยหสูตรที่ ๒- มาลุงกยบุตร สักแต่ว่า รูปที่ได้เห็น เสียงที่ได้ฟัง อารมณ์ที่ได้ทราบ ธรรมที่รู้แจ้ง 
154 สักแต่ว่า... (นัยที่ ๑ ตรัสกับพาหิยะ เมื่อใดเธอเห็น รูป แล้ว สักว่าเห็น) (นัยที่ ๒-ตรัสกับมสงลุงกายบุตร)
S1- 20 สักแต่ว่า... (นัยที่ ๑) ตรัสกับพาหิยะ

8 สังกัป สังกิจ สังขต สังขิต สังขาร
714 สังกัปปราคะ นิพเพธิกสูตร สังกัปปะราคะ คือกามของคนเรา
240 สังกัปปะ (รวมเรื่องสัมกัปปะ สัมมาสังกัปปะ มิจฉาสังกัปปะ)
208 สังกัปปะ กุศลวิตก หรือสัมมาสังกัปปะ (ความนึกคิดในส่วนละเอียด)
770 สังกัปปะ ถอดคำสาธยายธรรมจากคลิป รูป (กามภพ รูปภพ อรูปภพ) สังกัปปะ
129 สังกัปปะ อกุศลสังกัปปะ หรือมิจฉาสังกัปปะ ถอดคำพูด (กาม-กามธาตุ- กามสัญญา-กามสังกัปปะ-กามคุณ-กามภพ)
269

สังกิจจชาดก (ขุมนรก : สังกิจจฤาษีแสดงธรรม และ อธรรม แก่พระเจ้าพรหมทัตต)

S1- 15 สังขต อสังขต (ธรรมชาติที่ปรุงแต่งได้ และไม่ได้)
182 สังขตธรรม และ อสังขตธรรม (ธรรมชาติที่ปรุงแต่งได้ และธรรมชาติที่ไม่มีอะไรปรุงแต่งได้)
828 สังขิตตสูตร อุโบสถ ๘ ประการ วิตถตสูตร ผู้รักษาอุโบสถ 8 จะไปเกิดในชั้นเทวดากามภพชั้น1-6
S6- 132 สังขารมีเท่าใด (ตรัสกับนางวิสาขา) ลมหายใจออก-เข้าเป็นกายสังขาร วิตกและวิจารเป็นวจีสังขาร สัญญา-เวทนา เป็นจิตต
1667 รวมเรื่องสังขารทั้งหลาย กายสังขาร วจีสังขาร มโนสังขาร : ก็สังขารเป็นไฉน สังขารทั้งหลายเป็นไฉน
  รวมเรื่อง กายสังขาร วจีสังขาร มโนสังขาร
1089 ๑) กรรมดำกรรมขาว ๔ (กุกกุโรวาทสูตร) ก็กรรมไม่ดำไม่ขาว มีวิบากไม่ดำไม่ขาว ย่อมเป็นไปเพื่อความ สิ้นกรรมนั้นเป็นไฉน
1090 ๒) เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย บุคคลย่อมปรุงแต่งสังขารทั้งหลาย.. เมื่อกาย วาจา ใจมีอยู่ สุขและทุกข์ ย่อมบังเกิดขึ้น
1091 ๓) สังขารสูตร บุคคลย่อมปรุงแต่งกายสังขาร วจีสังขาร มโนสังขาร ที่มีความเบียดเบียน ไม่เบียดเบียน ทั้งเบียดเบียนและไม่เบียด
1092 ๔) สัญเจตนิยวรรคที่ ๓ เมื่อกายมีอยู่ เมื่อวาจามีอยู่ เมื่อใจมีอยู่ สุขทุกข์ภายในย่อมเกิดขึ้น เพราะกายสัญเจตนา เป็นเหตุ ...
1093 ๕) กรรมวรรคที่ ๔ มรรควิธีเพื่อความสิ้นกรรม (ไม่มีทั้งกรรมดำ-ขาว) คือเจตนาเพื่อละกรรมดำ- อริยมรรคมีองค์แปด-โพชฌงค์ ๗
1412 สังขารทั้งหลาย นัยยะ ความเกิดแห่งสังขารเพราะอวิชชาเกิด.. นัยยะ 2 ลมหายใจเข้า-ออกคือกายสังขาร..วิตกวิจารเป็นวจีสังขาร

9 สังคัย สังคาย สังคีต สังฆ สังโยชน์ สังวา
622 สังคัยหสูตรที่ ๑ ผัสสายตนะ ๖ ..เฝ้าระวังผัสสะทาง ตา หู จมูก.. ผู้ไม่หวั่นไหว คือผู้ปราบราคะ-โทสะแล้ว ย่อมเข้าถึงนิพพาน
623 สังคัยหสูตรที่ ๒ มาลุงกยบุตร สักแต่ว่า รูปที่ได้เห็น เสียงที่ได้ฟัง อารมณ์ที่ได้ทราบ ธรรมที่รู้แจ้ง เธอจักเป็นเพียงสักแต่ว่า
472 สังคายนาพระไตรปิฎก ครั้งที่ ๑ ณ ถ้ำสัตตบรรณคูหา พระอุบาลีวิสัชนาพระวินัย พระอานนท์วิสัชนาพระธรรม
241 สังคายนาพุทธศาสนา - วิกิพีเดีย (มีความไม่ลงรอยกันเรื่องมีการชำระอรรถกถาที่ศรีลังกา เป็นสาเหตุทำให้แตกเป็นนิกาย)
1283 สังคายนาพุทธศาสนา ครั้งที่ ๑ มีพระมหากัสสป เป็นพระธาน (ข้อมูลชุด 1/3 )
1284 สังคายนาพุทธศาสนา ครั้งที่ ๑ มีพระมหากัสสป เป็นพระธาน (ข้อมูลชุด 2/3)
1285 สังคายนาพุทธศาสนา ครั้งที่ ๑ มีพระมหากัสสป เป็นพระธาน (ข้อมูลชุด 3/3)
1121 สังคีติสูตร พระสารีบุตรแสดงธรรมแทนพระพุทธเจ้าให้กับภิกษุ 500 ที่แคว้นมัลละ เรื่องธรรมที่มีประเภทละ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ..๑๐
266 สังฆเภท (ทำสงฆ์ให้แตกแยก ทำลายสงฆ์ แตกเป็นเหล่าเป็นพวก แยกกันทำอุโบสถกรรม แยกกันทำปวารณากรรม )
731 สังฆเภท (แสดงธรรมไม่ตรงคำสอนฯ) สังฆสามัคคี (แสดงธรรมได้ถูกต้อง) ผู้ทำสังฆเภท นรก1 กัป ช่วยเหลือไม่ได้
265 สังฆราชี (ความไม่ลงรอยในองค์สงฆ์ตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไป มีความเห็น การประพฤติปฏิบัติไม่เสมอกัน....)
267 สังฆสามัคคี (ความพร้อมเพรียงในสงฆ์ ปรองดองไม่วิวาทกัน มีอุทเทส คือ ฟังปาติโมกข์ร่วมกัน มีวัตรปฏิบัติเสมอกัน )
1148 สังฆเภท-สังฆสามัคคี (แสดงสิ่ง ที่ตรงตามคำสอนฯเรียกว่า อาบัติ-สังเภท/และแสดงตรงกันข้ามเรียกว่า-อนาบัติ/สังฆสามัคคี)
1557 สังฆสามัคคีมี 2 อย่าง คือ 1.สังฆสามัคคีเสียอรรถแต่ได้พยัญชนะ 2.ได้ทั้งอรรถได้ทั้งพยัญชนะ.. (ภิกษุเมืองโกสัมพีทะเลาะกัน)
941 สังฆโสภณสูตร : บุคคลผู้ยังหมู่ให้งามคือภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาที่เฉียบแหลม ผู้แกล้วกล้า เป็นพหูสูต เป็นผู้ทรงธรรม
610 สังโยชน์ ๗ (อนุสัย 7) ๑.กามราคะ‪‎ ๒.ปฏิฆะ ‪‎๓.ทิฏฐิ ‪‎๔.วิจิกิจฉา ๕.มานะ ๖.ภวราคะ ‪‎๗.อวิชชา
S7-218 สังโยชน์ ๗ ๑.กามราคะ ๒.ความโกรธ ๓.ความเห็นผิด ๔.ความลังเลสงสัย ๕.ความสำคัญตน ๖.ความกำหนัดในภพ ๗.อวิชชา
318 สังโยชน์ ๑๐ (โอรัมภาคิยสังโยชน์ อุทธัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องต่ำ5 เบื้องสูง5 กิเลสเครื่องร้อยรัดจิตใจให้จมในวัฏฏะ)
172 สังโยชน์ ๑๐ โอรัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องต่ำ 5 และ อุทธัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องสูง 5
S2- 56 สังโยชน์ ๑๐ (โอรัมภาคิยสังโยชน์ อุทธัมภาคิยสังโยชน์)
688 สังโยชน์ ทุติยสังโยชนสูตร ความพอใจ ปัจจัยแห่งสังโยชน์ อุปมาน้ำมัน ประทีปและใส้ ที่ถูกเติมให้ลุกโพลง..ตัณหาเจริญ
1141 สังโยชน์ในภายใน-นอก บุคคล ๓ จำพวก อาคามี และอนาคามี แสดงธรรมโดยพระสารีบุตรแต่มีเทวดาพรหมเข้าฟังจำนวนมาก
647 สังโยชนสูตร สังโยชน์ กับ สังโยชนียธรรม (สังโยชน์ กับสิ่งอันเป็นที่ตั้งของสังโยชน์)
1040 สังวาสสูตร ชายผี หญิงผี ..ชายผี หญิงเทวดา..ชายเทวดา หญิงผี ..ชายเทวดา หญิงเทวดา

10 สังสาร สัจจ
617 สังสารวัฏ การเกิดของสัตว์เหมือนซัดท่อนไม้.. การเกิดเป็นมนุษย์-เต่าตาบอด. กระดูกของมนุษย์ที่ตายไปแล้ว ใหญ่เท่าภูเขาเวล
345 สังสารวัฏ นี้หาที่สุดเบื้องต้น-เบื้องปลายไม่ได้.. ทรงอุปมาน้ำที่เคยดึ่ม นมที่เคยดึ่ม น้ำตาที่เคยไหล มากกว่าน้ำในมหาสมุทรทั้ง4
517 สังสารวัฏ สงสารนี้ กำหนดที่สุดเบื้องต้นเบื้องปลายไม่ได้ อุปมามารดาของมารดาเรา มากกว่าท่อนไม้ ทั้งป่าที่เป็นมัดๆ ละ๔ นิ้ว
726 สังสารวัฏ หาเบื้องต้นไม่ได้ เบื้องปลายไม่ได้ รวม ๑๐ พระสูตร รวมอุปมาเรื่องกัป ความนานของสังสารวัฏ
S5- 103 สังสารวัฏนี้ หาที่สุดเบื้องต้น เบื้องปลายไม่ได้
1338 ความนานของสังสารวัฏ ความนานของกัป ทรงอุปมาไว้ 23 เรื่อง..สังสารวัฏนี้หาเบื้องต้นไม่ได้ น้ำนมมารดาที่สัตว์เคยดึ่มกินมากกว่า
1602 สัจจะของพราหมณ์ 4 ประการ ชื่อว่ากล่าวจริง ไม่ใช่กล่าวเท็จ
422 สัจจกนิครนถ์ โต้วาทะกับพระพุทธเจ้าจนยอมแพ้ (พระสูตรย่อ)
423 สัจจกนิครนถ์ (อัคคิเวสสนะ) สนทนากับพระอัสสชิเถระ และได้โต้วาทะพระพุทธเจ้าจนเหงื่อตก (พระสูตรเต็ม)
672 สัจจญาณ กิจจญาณ กตญาณ.. รอบ ปริวัฏฏ์สาม ญาณสาม (๑๒ อาการ)
1222 สัจจสัญญา อันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปสัญญาทั้งสี่ (ปฐมฌาน...จตุตถฌาน) และ ชั้นอรูปสัญญา(อากาสา...เนวสัญญา)
709 สัจจบรรพ ทุกขอริยสัจเป็นไฉน.. ทุกขสมุทัย...ทุกขนิโรธอริยสัจ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นไฉน

11 สัญญา สัญโญชน์(สังโยชน์) สัตต สัตตา สัตติม
S14-45 รายละเอียดของสัญญา : สัญญา๖ สัญญา ๗ สัญญา ๑๐ (แบบย่อ)
1100 สัญญา ๖ พึงรู้จักสัญญา.. แดนเกิดของสัญญา ความต่างของสัญญา ความดับของสัญญา ทางดำเนินใหเถึงความดับไม่เหลือ
540 สัญญามี ๖ หมวด สัญญาในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ในธรรม เพราะจำได้หมายรู้ จึงเรียกว่าสัญญา เช่นจำสีเขียว สีเหลือง ฯลฯ
1165 สัญญา ๗ ประการ อสุภสัญญา มรณสัญญา อาหาเรปฏิกูล สัพพโลเกอนภิรต อนิจจสัญญา อนิจเจทุกขสัญญา ทุกเขอนัตตสัญญา
469 สัญญา ๑๐ ประการ อาพาธสูตร คิริมานันทสูตร การหายอาพาธ ของพระคิริมานนท์ อานนท์แสดงธรรมสัญญา10ประการ
157 สัญญา ๑๐ ประการ อาพาธสูตร- คิริมานันทสูตร สัญญา 10 ประการ ว่าด้วยการหาย อาพาธของพระคิริมานนท์
1300 สัญญาเครื่องเนิ่นช้า ธรรมบรรยายที่ไพเราะ เหตุแห่งการทะเลาะ (มธุปิณฑิกสูตร) สัญญาเครื่องเนิ่นช้าครอบงำบุรุษ ย่อมเพลิดเพลิน
1081 สัญญาเวทยิตนิโรธ เมื่อกายแตกดับแล้วจะไปสู่ภพไหน (นิโรธสูตร) อุทายี เห็นแย้งกับ พระสารีบุตร
1102 สัญญาเวทยิตนิโรธ ผู้เข้าถึงสัญญาเวทยิต แต่กายแตกดับก่อนบรรลุอรหันต์ แล้วจะไปเกิดที่ไหน (นิโรธสูตร)
S7-217 สัญโญชน์และที่ตั้งแห่งสัญโญชน์. รูปเป็นที่ตั้งแห่งสัญโญชน์ ฉันทราคะใดเข้าไปมีอยู่ในรูปนั้น ฉันทราคะนั้นคือตัวสัญโญชน์
1117 สังโยชน์สูตร (บุคคล ๔ จำพวก) อริยะบุคคล ตั้งแต่สกทาคามีขึ้นไป ที่ยังละสังโยชน5 ได้-ไม่ได้, สร้างการเกิดและภพได้-ไม่ได้
782 สัตตธาตุสูตร.. ว่าด้วยธาตุ ๗ ประการ
804 สัตตบท ๓๖ ทางไปแห่งจิต ๓๖ อย่าง อธัมมยตา การออกไปจากทางเดินแห่งจิต
698 สัตตบท ๓๖ สฬายตนวิภังคสูตร (มหาจุฬา) อายตนะภายใน๖..นอก๖..วิญญาณ๖...ผัสสะ๖.. มโนปวิจาร๑๘.. สัตตบท ๓๖ (มีผัง) 
504 อสัตบุรุษ-สัตตบุรุษ เป็นไฉน? เป็นผู้มีความเห็นผิด ดำริผิด เจรจาผิด...ธรรม ๔ ประการของอสัตบุรุษ-สัตบุรุษ
712 สัตบุรุษ วาจาของสัตตบุรุษ และ อสัตตบุรุษ สะใภ้ใหม่-สะใภ้เก่า ..ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ
809 สัตบุรุษสัปปุริสธรรม และ อสัปปุริสธรรม
504 สัตบุรุษ อสัตบุรุษ บุคคล ๔ จำพวก คนดี-ลามก,คนมีที่ติมาก-ติน้อย, ธรรมกถึก, ฟ้าร้องฝนไม่ตก, มะม่วงดิบ-สุก,คนเปล่าปิด
654 สัตตาวาส ๙ ชั้น ที่อยู่ของสัตว์ (ไม่มีสัญญาเวทยิตนิโรธ) สัตว์ที่ยังไม่หลุดพ้น เมื่อกายแตกต้องกลับมาสู่สัตตาวาสทั้ง 9 เหล่านี้
1525 สัตตัฏฐานสูตร ว่าด้วยการรู้ขันธ์ ๕ โดยฐานะ..ฉลาดในฐานะ ๗ ประการ และเพ่งพินิจ ๓ ประการ
706 สัตติมสูตร ธาตุ ๗ ประการ อาภาธาตุ สุภาธาตุ อากาสานัญจา วิญญา อากิญ เนวสัญญา สัญญาเวทยิต อาศัยการเกิดตามปฏิจจ

12 สัตว์ สัตตานัง
1597 สัตว์ 15 ชนิด ที่พระศาสดาทรงอุปมา เต่า งู จระเข้ นก สุนัข แมลงป่อง ตะขาบ พังพอน แมว โค ม้า ไก่ ราชสีห์ หนู ลิง
S2- 71 สัตว์ ความหมายของคำว่า “สัตว์” (คือ ฉันทะ ราคะ นันทิ ตัณหา ที่มีอยู่ในขันธฺ๕)
375 สัตว์ สัตตสูตร ว่าด้วยเหตุที่เรียกว่าสัตว์ คือความพอใจ ความกำหนัด ความเพลิดเพลิน ความทะยานอยาก ในรูป เกี่ยวข้องในรูป
200 สัตตานัง สัตโต สัตตา สัตว์ : สิ้นตัณหา ก็นิพพาน
617 สัตว์ การเกิดของสัตว์เหมือนซัดท่อนไม้.. การเกิดเป็นมนุษย์-เต่าตาบอด..กระดูกของมนุษย์ที่ตายไปแล้ว ใหญ่เท่าภูเขาเวล
416 สัตว์ ๖ ชนิด ผู้ไม่ตั้งไว้ซึ่งกายคตาสติ ไม่อบรม.. ตา หู จมูก ลิ้น....ก็จะถูกฉุดให้ไปหาสิ่งที่พอใจ สิ่งที่ไม่น่าพอใจก็จะอึดอีด
S5- 115 สัตว์ ต้องเวียนว่าย เพราะไม่เห็นอริยสัจจ
831 สัตว์ ที่ตายจากมนุษย์ จะเกิดในมนุษย์-ในเทวดา มีน้อย แต่ไปเกิดในนรก เดรัจฉาน เปรตวิสัย มากกว่า
616 สัตว์ อุปมาการเกิดของสัตว์ ในกัปที่ล่วงไปแล้ว..ความนานของกัป .. ภิกษุชาวปาวาสำเร็จอรหันต์พร้อมกัน 30 รูป
S3- 38

สัตว์ ที่ไม่เคยเกี่ยวข้องกัน หาได้ยากในโลกนี้ (เพราะสงสารนี้ กำหนดที่สุดเบื้องต้น เบื้องปลายไม่ได้ )

S6- 159 สัตว์ ปัจจัยที่ทำให้สัตว์บางพวก ไม่ปรินิพพาน และ ปรินิพพาน ในทิฏฐธรรม? ความเพลิดเพลิน.. เมาหมกอยู่ในรูป
155 สัตว์ย่อมคบกันด้วยธาตุ-สตาปารัทธสูตร (สัตว์ทั้งหลายย่อมคบค้ากัน สมาคมกัน โดยธาตุคนเลวย่อมสมาคมกับคนเลว )
711 สัตว์ย่อมคบค้ากัน ย่อมสมาคมกันโดยธาตุเทียว (หลายพระสูตร) แม้ในอดีต ในอนาคต และปัจจุบัน
1099 สัตว์มีกายต่างกัน มีสัญญาต่างกัน พวกมนุษย์ เทพบางพวก วินิบาตบางพวก..สัตว์มีกายต่างกัน มีสัญญาอย่างเดียวกัน พวกเทพ
1537 สัตว์เป็นผู้แล่นไป ท่องเที่ยวไป วิญญาณแล่นไป จิตแล่นไป (ตัวอย่างพระสูตรที่กล่าวถึง)

13 สัทธรรม สัทธา สัน สัป สัพ
S6- 179 สัทธรรม ความเสื่อมสูญ และ ความตั้งมั่น แห่งพระสัทธรรม ที่เกิดจากภิกษุ
426 สัทธรรมปฏิรูปกสูตร เหตุแห่งการบัญญัติ สิกขาบท มีมาก สิกขาบท มีน้อย และเหตุปัจจัยที่ทำให้พระสัทธรรมเลือนหายไป
S5- 116 สัทธานุสารี (ศรัทธานุสารี) ธัมมานุสารี (ธรรมานุสารี) (โดยสรุป)
S2- 70 สัทธานุสารี ธัมมานุสารี (รู้ขันธ์5 ไม่เที่ยง รับประกันความตาย)
409 สัทธานุสารี และ ธัมมานุสารีบุคคล (โดยละเอียด) พิจารณาความไม่เที่ยงของขันธ์ 5
1417 สัทธานุสารี และ ธัมมานุสารี ย่อมเห็นใน 10 แง่มุมนี้ ว่าเป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน (พร้อมผังประกอบ)
945

สันโดษ ตามมีตามได้ - อริยวงศ์ ๔ อย่าง สันโดษด้วยจีวร ด้วยบิณฑบาต ด้วยเสนาสนะตามมีตามได้ เป็นผู้มีปหานะ - ฉันท์วันละหน

1540 สันโดษ ตามมีตามได้ (อริยวงศ์ 4 ประการ) คุณสมบัติของบรรพชิต 1.สันโดษด้วยจีวร 2.บิณฑบาต 3.เสนาสนะ 4.เจริญภาวนา
1282 สันติวรบท ทางสู่ความสงบอันประเสริฐ คือทำความรู้แจ้งในอายตนะ ๖ รู้เหตุเกิด - เหตุดับ รู้คุณ-รู้โทษ และอุบายเครื่องออก
376 สัปปุริสธรรม ๗ ประการ ..ศรัทธาตถาคต เป้นผู้มีหิริ เป็นผู้มีโอตัปปะ เป็นพหูสูต เป็นผู้ปรารภความเพียร เป็นผู้มีสติ เป็นผู้มีปัญญา
809 สัปปุริสธรรม และ อสัปปุริสธรรม สัปปุริสธรรม  คือ สัตบุรุษ ทำการปฏิบัติแต่ภายในเท่านั้น ไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น ผู้มีสกุลสูง
1384 สัปปายสูตร การเพิกถอนซึ่งความสำคัญ สิ่งทั้งปวง ด้วยตัณหา มานะ และ ทิฐิ
249 สัพพัญญูว่าด้วยเหตุให้สำเร็จเป็นพระสัพพัญญูพุทธเจ้า (ความปราถนาอันไม่มีประมาณของพระพุทธเจ้า...)
1524 สัพพาสวสังวรสูตร ว่าด้วยการสังวรในอาสวะทั้งปวง มีหลายวิธี เพราะการเห็น การสังวร เสพเฉพาะ อดกลั้น เว้นรอบ บรรเทา อบรม

14 สัมป สัมปรา สัมผัป สัมพาธ สัมม สัมมา
421 สัมปชัญญะ ๑๙ ฐาน ฐานที่ตั้ง การยืน เดิน นั่ง นอน อย่างมีสัมปชัญญะ กระทำจิตภายใน ให้เป็นจิตเป็นที่หยุดพัก
S6- 145 สัมปชัญญะ เดิน ยืน นั่ง นอน อย่างมีสัมปชัญญะ จิตน้อมไปเพื่อการเดิน ก็เดินด้วยการตั้งจิตว่า บาปอกุศลธรรมจักไม่ไหล
355 สัมปรายะ(ภพหน้า) หลักดำรงชีพเพื่อประโยชน์สุข ให้ถึงพร้อมด้วย สัทธาสัมปทา- สีล- จาคะ- ปัญญา
819 สัมผัปปลาวาท(เพ้อเจ้อ) ระดับพราหมณ์-ฤาษี ที่อ้างว่าทางปฏิบัติของตนไปเป็นสหายพรหมได้ แต่ทุกคนกลับไม่เคยเห็นพรหม
729 สัมพาธสูตร ช่องว่างในที่คับแคบ สัมพาธสูตร (ฉบับมหาจุฬา) ... ปัญจาลสูตร (ฉบับหลวง)
701 สัมมสสูตรที่ ๑ เมื่ออุปธิมี ชราและมรณะจึงมี เมื่ออุปธิไม่มี ชราและมรณะก็ไม่มี เมื่อตัณหามี อุปธิจึงมี เมื่อตัณหาไม่มี อุปธิก็ไม่มี
702 สัมมสสูตรที่ ๒ พระสารีบุตร สนทนากับพระโกฏฐิตะ อุปมา ไม้อ้อ ๒ กำ,ภิกษุธรรมกถึก ภิกษุผู้ประพฤติธรรมสมควรแก่ธรรม
S3- 26 สัมมัปปธานสี่ หรือ ปธาน ๔ (ยับยั้งอกุศล เพียรสร้างกุศล)
  (สัมมา)
1262 ผู้มีสัมมาทิฐิ เมื่อเกิดขึ้นในโลก ย่อมเป็นประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุขแก่ เทพยดาและมนุษย์ ทั้งหลาย
810 สัมมาวาจา (เท็จ ส่อเสียด หยาบ เพ้อเจ้อ) และหลักวิธีการพูดที่เป็น อริยะ(ไม่เห็นว่าไม่เห็น) และ อนริยะ (คนพาล)
813 สัมมาวาจา ข้อควรสรรเสริญหรือควรติเตียนของบุคคล 4จำพวก ติแต่ไม่สรรเสริญ สรรเสริญและไม่ติ ไม่ติไม่สรรเสริญ ติและสรรเสริญ
814 สัมมาวาจา ไขความลับสัมมาวาจา ๔ ละมุสาวาท(พูดเท็จ) ละคำส่อเสียด หยาบ ไม่เสนาะหู เพ้อเจ้อ ไม่มีที่อ้างอิงไม่มีหลักฐาน
812 สัมมาวาจา วจีกรรม ๓ สถาน ๑ เมื่อจะกระทำ(ไม่พึงกระทำ) ๒ เมื่อกระทำอยู่(เลิกกระทำ) ๓ กระทำแล้ว(พึงสังวระวังครั้งต่อไป)
816 สัมมาวาจา วาจาของ สัตบุรุษ - อสัตบุรุษ และ วาจาสะใภ้ใหม่- สะใภ้เก่า
817 สัมมาวาจา สัมมาวาจาขั้นสูงสุด วาจาใด จริง แท้ ด้วยประโยชน์ พึงใจของผู้อื่น ตถาคตย่อมเป็นผู้รู้จักกาละ เพื่อกล่าววาจานั้น
818 สัมมาวาจา สัมมาวาจาชั้นสูงสุด (ระดับพระพุทธเจ้า) ไม่ทะเลาะวิวาทกับใครๆในโลก พร้อมทั้ง เทวโลก มารโลก พรหมโลก
815 สัมมาวาจา สุภาษิตวาจา ๕ ประการ 1.ควรแก่กาล 2.คำสัจจ์จริง 3. อ่อนหวาน 4.ประกอบด้วยประโยชน์ ด้วยเมตตาจิต
811 สัมมาวาจาโดยปริยายสองอย่าง แบบโลกิยะ(อาสวะ)เป็นส่วนแห่งบุญ มีอปุทิเป็นวิบาก และโลกุตตระ(ไม่มีอาสวะ) เป็นมรรค๘
208 สัมมาสังกัปปะ กุศลวิตก (ความนึกคิดในส่วนละเอียด)
1429 สัมมาสมาธิ(อังคิกสูตร) ที่ประกอบด้วยองค์๕ บรรลุปฐมฌาน ๑ - ฌาน๔ และ แทงตลอดด้วยดี ซึ่ง ปัจจเวกขณนิมิต ด้วยปัญญา
1643 สุเนตตะ (พระพุทธเจ้าในอดีต) เป็นผู้ยิ่งใหญ่ในมนุษย์และเทวดา ก็ไม่พ้นแก่เจ็บตาย
   
 
พุทธวจน : อ่านคำสอนพระศาสดา อ่านแบบสบายตา โดยคัดลอกหนังสือทั้งเล่มมาจัดทำเป็นเว็บเพจ (คลิกอ่านพร้อมดาวน์โหลดไฟล์ pdf)
90 90 90 90  
 
พุทธประวัต ขุทรัพย์
อริยสัจ
ภาคต้น
อริยสัจ
ภาคปลาย
ปฏิจ ปฐมธรรม ตถาคต อนาคามี อินทรีย์
สังวร
สัตว์
สัตตานัง
ทาน
สกทาคามี
ฆราวาส
ชั้นเลิศ
มรรควิธี
ที่ง่าย
 
   
อริยวินัย เดรัจฉานวิชา กรรม สมถะ
วิปัสสนา
โสดาบัน อานา
ปานสติ
จิต มโน
วิญญาณ
ก้าวย่าง
อย่างพุทธะ
ตามรอย
ธรรม
ภพ ภูมิ
พุทธวจน
สาธยาย
ธรรม
สังโยชน์