เว็บไซต์ อนาคามี เผยแพร่คำพระศาสดา เผยแพร่คำสอนตถาคต เว็บไซต์เผยแพร่พระสุตรคำสอนของพระพุทธเจ้า คลิปคำสอน คลิปสาธยายธรรม
  เรียงตามอักษรชุด 14/1
ค้นหาคำที่ต้องการ      

 
1 2 3 4 5 6 7 8 9  
 
10 11 12 13 14

(14/1) หมวด ห อ  
1  หญิง  หนู  หมอ  หลีก  หลุดพ้น  
หลัก  หอก  หัต  หิง  เหตุ  เห็น  ให้
อกา อกุ อขณะ อคา อง
อจิน อเจล อชาต อดีต
3 อธรรม อธัม อธิป อนา
อนาถ
อนาสวะ อนัน อนุ
4 อบ อปร อปริ อภัย
อภิ อภิส อภิญ อมนุษย์
5 อย่า อรกา
อรณ อรหันต์
6 อริย อริยะ
อริยสัจ อรัญ
7 อวด
อวิชชา อวิป
8 อสัง อสัป อสัญ อสูร อหัง
อัก อัค อัจ อัง อัช
9 อัญ อัฎ อัตตา
อัตถิ อัน อัป อัม อัศ อัส
10 อาการ อาคา อาฆาต อาชิน อาฏา
อาทิต อานนท์ อานัน อานาปานสติ
11 อานิส อาเนญ อาบัติ
อาพาธ อามก อายตนะ อายุ
12 อารมณ์ อารัญ
อาสว อาหาร อาหุ
13 อาฬ อิจ อิฏ
อิณ อิทธิ อิทัป อิสิ
14 อินทรีย์
อีศวร
15 อุตร อุทก อุท อุทาน อุทายี
อุบาสก อุบาลี อุบาย อุเบก
16 อุป อุปาทาน
อุโป อุมิค อัปป
17 เอก เอต เอส
เอตัง โอรัม โอวาท
   

1  
หญิง หนู หมอ หลีก หลุด หยุด หลัก หอก หัต หิง เหตุ เห็น ให้
462 หญิงงาม เปลื้องผ้า มุสาวาทวรรค.. หญิงงาม ขอเป็นภรรยาพระอนุรุทธะ. เป็นที่มาการบัญญัติ เรื่องการนอนร่วมกับมาตุคาม
1339 หญิงงามเมือง นางอัมพปาลี ทำภัตตาหาร และถวายสวนป่า แด่พระผู้มีพระภาค
560 หนูขุดรู แต่ไม่อยู่ อริยสัจ-เปรียบเรียนอริยสัจ กับหนู 4 จำพวก หนูขุดรูแต่ไม่อยู่:เรียนปริยัติแต่ไม่รู้อริยสัจ
S10-1 หมอดู กุมภัณฑเปรต เคยเป็นผู้พิพากษาโกงชาวบ้าน : มังคุลิตถีเปรต เคยมีอาชีพหมอดู
728 หมอชีวกโกมารภัจจ์ เรื่องราวและประวัติของหมอชีวก หมอรักษาพระพุทธเจ้า รวบรวมหลายๆพระสูตร จากพระไตรปิฎกฉบับหลวง
643

หลีกออกจากกาม-อุปมา ๓ ข้อ ตรัสกับภาระทวาชะ การหลีกออกจากกาม เหมือนไม้สดแช่อยู่ในน้ำ

  (หลุดพ้น  หยุด  หลัก)
477 หลุดพ้น - อัสสุตวตาสูตรที่ ๑ เบื่อหน่าย คลายกำหนัดเ จึงหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว
S7- 189 หลุดพ้น เจโตวิมุตติ และ ปัญญาวิมุตติ ...ความหลุดพ้นแห่งจิต(สำรอกราคะได้ ความหลุดพ้นด้วยปัญญา(สำรอกอวิชชาได้)
S2-66 หลุดพ้น- ผู้ไม่ได้สดับไม่อาจหลุดพ้น ผู้ไม่ได้สดับพึงเบื่อหน่ายกายได้บ้าง แต่ไม่อาจปล่อยวางจิตได้ ด้วยทิฏฐิว่า นั่นของเรา
1302 หลุดพ้นด้วยปัญญา เพียงเท่าไรหนอ บุคคลพึงหลุดพ้นด้วยปัญญา (กามเหสสูตรที่ ๒)
1302 หลุดพ้นโดยส่วนสอง เพียงเท่าไรหนอ บุคคลพึงหลุดพ้นโดยส่วนสอง (กามเหสสูตรที่ ๓)
230 หยุดอยู่ที่นั่นแหละ -วสลสูตรที่ ๗ (หยุดอยู่ที่นั่นแหละคนโล้น หยุดอยู่ที่นั่น แหละคนถ่อย ฯ)
230 หยุดอยู่ที่นั่นแหละคนโล้น หยุดอยู่ที่นั่น แหละคนถ่อย .. อัคคิกภารทวาช พราหมณ์ ตรัสกับพระผู้มีพระภาค ขณะบิณฑบาต
821 หลักการใช้จ่ายทรัพย์ เลี้ยงตน- บิดามารดา บุตร ภรรยา - ป้องกันภัย- สงเคราะห์ญาติ สังคม- อุทิศแด่สมณะ
  (หอก  หัต  หิง )
565 หอก 300 เล่ม รู้อริยสัจสี่ ยังดีกว่าถูกแทงด้วยหอกวันละ 300 เล่ม เพราะเหตุว่าสังสารวัฏนี้มีเบื้องต้นและที่สุด
652 หัตถปาทปัพพสูตร มื่อมือทั้ง ๒ มีอยู่ การจับและการวางก็ปรากฏ เมื่อมือทั้ง ๒ ไม่มี การจับและการวางก็ไม่ปรากฏ
187 หิงห้อย แสงหิงห้อย-กับแสงอาทิตย์ -คำสอนของคนอื่นเปรียบเหมือนแสงหิงห้อย คำของตถาคตเปรียบเหมือนแสงอาทิตย
S2- 63 หิงห้อย-คำสอนอื่นเหมือนแสงหิงห้อย (คำตถาคตเหมือนแสงอาทิตย์)
  (เหตุ)
1530 เหตุเกิดของวิญญาณ อาศัยจักษุ และรูปทั้งหลายเกิดขึ้น ก็ถึงความนับว่า จักษุวิญญาณ.../โสตะ / ฆานะ/ ชิวหา/ กาย/ มนะ
1530 เหตุเกิดของขันธปัญจก (ขันธ์๕) เกิดขึ้นเพราะอาหาร ดับไปเพราะอาหาร
1530 เหตุเกิดของเหล่าสัตว์ เกิดขึ้นเพราะอาหาร ๔ อย่าง 1.กวฬิงการาหาร 2.ผัสสาหาร 3.มโนสัญเจตนาหาร 4.วิญญาณาหาร
580 เหตุเกิดแห่งทุกข์ คือตัณหา คือความจริงอันประเสริฐ คือเหตุเกิดทุกข์ ความกำหนัดเพราะอำนาจแห่งความเพลิน คือกามตัณหา 
S12-35 เหตุแห่งการเกิดของทุกข์ คือ ผัสสะ เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย
645 เหตุที่ทำให้พระองค์กลับมาฉันท์อาหาร ด้วยเหตุ ๔ ประการ
380 เหตุแห่งการถือมั่น ว่าเป็นของเรา เอตังมมสูตร  เมื่ออะไรมีอยู่เพราะถือมั่นอะไร ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอย่างนี้ว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา
381 เหตุแห่งการถือมั่น ว่าเป็นตน โสอัตตาสูตร  เมื่ออะไรมีอยู่ เพราะถือมั่นอะไร เพราะยึดมั่นอะไร ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอย่างนี้ว่าตนก็อันนั้น
801 เหตุแห่งการเบียดเบียน เพราะความอิจฉาและตระหนี่.. เหตุตระหนี่คือมีสิ่งอันเป็นที่รัก.. สิ่งอันเป็นที่รักมีฉันทะ พอใจเป็นเหตุ
S7- 188 เหตุแห่งความเสื่อม และความตั้งมั่น แห่งพระสัทธรรม
1148 เหตุปัจจัยทำให้ศาสนาเสื่อม.. พุทธบริษัท๔ ไม่สนใจคำสอน.. เหมือนกลอง อานกะ ของพวกทสารหะ แตกแล้วก็เอาไม้อื่นตีเสริม
  (เห็น  ให้)
527 เห็นจิตในจิต - จิตหลุดพ้น จิตมีราคะ ก็รู้ชัดว่าจิตมีราคะ .. เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะ ซึ่งจิต หายใจเข้า .. เห็นขันธ์5 ว่าไม่เที่ยง
578 เห็นรูปเป็นตน  เห็นตนเป็นรุป ทุกข์เพราะยึดผิด.. เห็นเวทนาสัญญาสังขารว่าเป็นตน..รุปแตกสลาย ย่อมทุกข์
802 เห็นธรรม - ผู้ใดเห็นธรรมชื่อว่าเห็นพระพุทธเจ้า วักกลิสูตร ร่างกายอันเปื่อยเน่าที่เธอเห็นนี้ จะมีประโยชน์อะไร?
185 เห็นอยู่ - ย่อมไม่เห็น (เห็นว่าคำสอนของสมณะพราห์มเหล่าอื่น ดีกว่าของพระพุทธเจ้า)
669 ให้ของที่เลิศ ย่อมได้ของที่เลิศ  ให้ของที่เลิศ ได้ของที่เลิศ ให้ของที่ดี ได้ของที่ดี ให้ของประเสริฐ ย่อมเข้าถึงสิ่งประเสริฐ
 
2 อกา อกุ อขณะ อคา อง อจิน อเจล อชาต อดีต
1542 อกาลิโก (ธรรมที่ไม่ประกอบด้วยกาล) ตรัสกับคามณี เรื่องธรรม ๓ อย่าง คือ ราคะ(กำหนัด) โทสะ(โกรธ) โมหะ(โลภ)
660 อกุศล คืออาจารย์ อันเตวาสิก(อกุศล)เปรียบเหมือนอาจารย์ ผู้มีอันเตวาสิกย่อมมีอาจารย์-เป็นทุกข์ ไม่มีอันเตวาสิก-เป็นสุข
1157 อกุศล- ผู้มีมิตรดี กุศลธรรมที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น อกุศลธรรม ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมเสื่อมไป
S13-33 อกุศลวิตก ๓ อย่าง คือ กามวิตก พยาบาทวิตก วิหิงสาวิตก แก้ได้ด้วยสติปัฏฐาน ๔
1411 ละอกุศลกรรมบถ ๑๐ คือพิธีปลงบาปแบบสาวกตถาคต ปลงบาปจากความไม่สะอาดทางกาย 3 ข้อ ทางวาจา 4 ข้อ ทางใจ 3ข้อ
415 อกุศลเกิด ต้องรีบดับ- เรื่องเร่งด่วนที่ต้องเร่งกระทำ ใช้วายามะ อุสสาหะ อุสโสฬ๎หี อัปปฏิวาน..อย่างแรงกล้าเพื่อดับให้ได้
1156 อกุศลธรรม เมื่อเป็นผู้ปรารภความเพียร กุศลธรรมที่ยังไม่เกิดย่อมเกิดขึ้น อกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้วย่อมเสื่อมไป
554 อกุศลมูล ธรรมมีประเภทละ ๓ อกุศลมูล๓ กุศลมูล๓ ทุจริต๓ สุจริต๓ อกุศลวิตก๓ อกุศลสังกัปปะ๓ กุศลสังกัปปะ๓ อกุศลสัญญา๓.
600 อกุศลมูล ราคะ โทสะ โมหะ (รวมเรื่อง) อกุศลมูล ความหลงในสัญโญชนิยธรรม กามคุณ5 
862

อกุศลวิตก (การกำจัด) ภิกษุผู้ประกอบฝึกฝนเพื่อบรรลุอธิจิต พึงกระทำในใจ ถึง นิมิต ๕ ประการ

1635 อขณะ อสมัย เพื่อพรหมจริยวาส ๙ อย่าง นี้มิใช่ขณะ มิใช่สมัย เพื่อการอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ (ไม่ใช่โอกาสที่จะพบพระพุทธเจ้า)
228 อคารวสูตรที่๒ (ธรรม ๕ ประการ ของภิกษุผู้ไม่มีที่เคารพ ไม่มีที่ยำเกรง ต่อพระสัทธรรม)
284 องคุลีมาล - อังคุลิมาลสูตร (เรื่องราวขององคุลีมาลโจร ชื่อเดิมว่า อหิงสกะ)
453 อจินไตย ๔ เรื่องที่ไม่ควรคิด คิดแล้วอาจเป้นบ้า..พุทธวิสัยของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ฌานวิสัย วิบากกรรม คิดในเรื่องของโลก
147 อเจลก กัสสป - มหาสีหนาทสูตร (พระองค์ไม่ได้ตำหนิเรื่อง ตบะ ไปเสียทุกเรื่อง)
162 อชาตสูตร (อสังขตาธาตุ .. ธรรมชาติไม่เกิดแล้ว ไม่เป็นแล้ว อันปัจจัยกระทำไม่ได้แล้ว ปรุงแต่งไม่ได้แล้ว มีอยู่)
497 อตีตสูตร ปัจจุบันสูตร อนาคตสูตร จักษุที่เป็นอดีต-อนาคต-ปัจจุบัน เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา
497_1 อตีตสูตร ปัจจุบันสูตร อนาคตสูตร เปรียบเทียบแบบตาราง

3 อธรรม อธัม อธิป อนา อนาถ อนาสวะ อนัต อนัน อนิจ อนุต อนุ
1160 อธรรม ภิกษุแสดง อธรรมว่า ธรรม ย่อมประสบบาปเป็นอันมาก... แสดง ธรรมว่า ธรรมย่อมประสบบุญ
441 อธรรม ภิกษุที่แสดงอธรรมว่าธรรม ย่อมประสบบาป แสดงมิใช่วินัยว่าวินัย ตถาคตมิได้ภาษิตว่าภาษิต มิได้ทรงบัญญัติว่าบัญญัติ
804 อธัมมยตา สัตตบท 36 ทางไปแห่งจิต 36 อย่าง การออกไปจากทางเดินแห่งจิต
788 อธิปไตยสูตร อัตตาธิปไตย(ความคิดตนเอง) โลกาธิปไตย(คนส่วนมาก) ธรรมาธิปไตย(เหตุผล)
B14-01 อนาคามี อุปมาสะเก็ดไฟ อนาคามีในกลุ่ม ปุริสคติ ๗ (ฟังธรรมก่อนทำกาละตามสูตร ผัคคุณสูตร)
1607 อนาคามี กับสะเก็ดไฟ ผู้ละสังโยชน์ 5 สิ้น มี 7 แบบ : ก่อนตาย 2 แบบ หลังตาย 5 แบบ (ถอดคำพูดจากคลิป)
1520 อนาถปิณฑิโกวาทสูตร อนาถบิณฑิกคหบดี ผู้สร้างวัดเชตวันถวายพระพุทธเจ้า เข้าเฝ้าฯเป็นครั้งแรก
1521 อนาถปิณฑิโกวาทสูตร อนาถบิณฑิกคฤหบดี ป่วยเป็นไข้หนัก พระสารีบุตรเทศนาหลายพระสูตร จากนั้นได้ทำกาละลง
(พระสูตรนี้เป็นอรรถกถา หรือคำแต่งใหม่)
1544 อนาถบิณฑิก ป่วยเป็นไข้หนัก พระสารีบุตร แสดงธรรม เรื่อง โสตาปัตติยังคะสี่ มรรค๘ มิจฉาญาณะ และมิจฉาวิมุตติ
1545 อนาถบิณฑิก ป่วยเป็นไข้หนัก พระอานนท์ แสดงธรรม เรื่อง ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ ย่อมไม่สะดุ้งหวาดเสียว กลัวตาย
(พระสูตรนี้เป็นอรรถกถา หรือคำแต่งใหม่)
420 อนาสวะ - สาสวะ ...อนาสวะ เป็นสัมมาทิฐิของ ภิกษุผู้อริยะ (เป็นโลกุตระ) สาสวะ เป็นสัมมาทิฐิของ ภิกษุผู้ยังไม่เป็นอริยะ (ปุถุชน)
860 อนัตตลักขณสูตร ยถาภูตญาณทัสสนะ (แสดงแก่ปัญจวัคคีย์) รูป เวทนา สัญญา ..เป็นอนัตตา/รูปเที่ยงหรือไม่เที่ยง ไม่เที่ยง
1413 อนัตตลักขณสูตร (แสดงแก่ปัญจวัคคีย์) ขันธ์๕ เป็นอนัตตา (ไม่มีตัวตน) รูป เป็นอนัตตา เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เป็นอนัตตา

650

อนัตตา -อุทายีสูตร กายนี้เป็นอนัตตาฉันใด แม้วิญญาณก็เป็นอนัตตาฉันนั้น.. อุปมา-ลอกลอกกาบต้นกล้วย แม้แก่นก็หาไม่พบ
541 อนัตตา-ลักษณะความเป็นอนัตตา รูปเป็นอนัตตา ก็หากว่ารูปนี้จักเป็นอัตตาแล้วไซร้ รูปก็คงไม่เป็นไป เพื่ออาพาธ
383

อนัตตาสูตร สังโยชนสูตร อุปาทานสูตร ว่าด้วยสิ่งที่เป็นอนัตตา : ที่ตั้งแห่งสังโยชน์และสังโยชน์ : ที่ตั้งแห่งอุปาทานและ..

S7-200 อนัตตา-เหตุปัจจัยของ ขันธ์ ๕ ก็เป็นอนัตตา แม้เหตุปัจจัยเพื่อการเกิดขึ้นของรูป ก็เป็นอนัตตาแล้วรูปจักเป็นอัตตาได้อย่างไร
660 อนันเตวาสิกานาจริยสูตร อันเตวาสิก(อกุศล)เปรียบเหมือนอาจารย์ ผู้มีอันเตวาสิกย่อมมีอาจารย์-เป็นทุกข์ ไม่มีอันเตวาสิก-เป็นสุข
  (อนิจ)
S5- 107 อนิจจสัญญา เป็นอย่างไรเล่า (เห็นความไม่เที่ยงของขันธ์5 รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ไม่เที่ยง)
382 อนิจจสูตร อนิจจธัมมสูตร ทุกขสูตร ทุกขธัมมสูตร ว่าด้วยสิ่งที่เป็นอนิจจัง-เป็นอนิจจธรรม-สิ่งที่เป็นทุกข์-สิ่งที่เป็นทุกขธรรม
S2- 72 อนิจจัง -ทุกข์ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตาสิ่งใดไม่เที่ยงสิ่งนั้นเป็นทุกข์
210 อนิจจัง รูปไม่เที่ยง เป็นทุกข์ -อานันทสูตร ว่าด้วยสิ่งที่เป็นอนิจจัง และมิใช่ของเรา (ตรัสถามอานนท์ รูป เที่ยง หรือไม่เที่ยง)
250 อนิจจังแห่งเวทนา -อัสสชิสูตร (ว่าด้วยความเป็นอนิจจังแห่งเวทนา ตรัสกับพระอัสสชิ ขณะอาพาธ)
163 อนุตตริยสูตร ๖ 1.ทัสสนา(การเห็น)2.สวนา(การฟัง)3.ลาภา(การได้)4.สิกขา(การศึกษา)5.ปาริจริยา(การบำเรอ)6.อนุสสตา(ระลึก)
361 อนุตตริยะ ๖ ประการ (เห็นพระตถาคต -สดับธรรมตถาคต -ศรัทธาตถาคต- ฝึกอบรมในอธิศีล-รับใช้พระตถาคต-ระลึกถึงตถาคต)
S4- 80 อนุตตริยะ ๖ สิ่งที่ยอดเยี่ยมเห็นตถาคต -สดับธรรม -ศรัทธาตถาคต -อบรมในอธิศีล -บำรุงรับใช้ตถาคต -ระลึกถึงพระตถาคต
S6- 157 อนุตตริยะ ๖ สิ่งยอดเยี่ยม แบบย่อ (ภาวะ-สิ่งที่ยอดเยี่ยม)(การเห็น การฟัง การได้ การศึกษา การบำเรอ การระลึก)
S3- 21 อนุปาทาปรินิพพานสูตร ข้อปฏิบัติเพื่ออนุปาทาปรินิพพาน (มรรค8)
S13-35 อนุปาทาปรินิพพาน เป็นอย่างไร เธอละอนุสัยคือ มานะ ภวราคะ อวิชชา เมื่อละได้แล้วย่อมกระทำให้แจ้งซึ่ง เจโต-ปัญญาวิมุตติ
599 อนุปาทิเสสนิพพานธาตุ (นิพพานธาตุ 2 ประการ) สอุปาทิเสส กับ อนุปาทิเสส ความแตกต่างของอรหันต์ 2 ประเภท
1106 อนุปุพพนิโรธสูตร ๙ ประการ จิตตั้งมั่น-ความดับไปตามลำดับ อกุศลย่อมดับในปฐมฌาน..วิตกวิจารของผู้เข้าตติยฌานย่อมดับ
1076 อนุปุพพสังขารนิโรธ : ลำดับแห่งการดับของสังขาร (ของสรรพสิ่ง) อนุปุพพนิโรธสูตร (ความดับไปตามลำดับ ๙ ขั้นตอน)
1240

อนุปุพพิกถา (26พระสูตร) แสดงธรรมตามลำดับ ฟอกอัธยาศัยของสัตว์ให้หมดจดเป็นชั้นๆ ผู้ฟังเทศนา 200,123 คน

935 อนุพุทธสูตร ธรรม ๔ ประการ ศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติ ที่เป็นอริยะ เราได้ตรัสรู้แล้ว ถอนตัณหาได้แล้ว ตัณหาสิ้นไปแล้ว
  (อนุรุทธะ)
836 อนุรุทธสูตร เหล่าเทวดาเข้าหาพระอนุรุทธะ... ธรรม ๘ ประการ ในการอยู่ครองเรือน
1069 อนุรุทธะ ถามพระสารีบุตร เรื่องการสิ้นอาสวะ... พระสารีบุตร แนะนำให้ละธรรม 3 ประการ 1.มานะ 2.อุทธัจจะ 3.กุกกุจจะ
1261 พระอนุรุทธ ถามปัญหาพระสารีบุตร ว่ามีความเพียรไม่ย่อหย่อน แต่ทำไมจิตจึงยังไม่หลุดพ้น..เพราะมานะ อุทธัจจะ กุกกุจจะ
1501-04 รวมเรื่องราวของพระอนุรุทธะ 39 เรื่อง (เอตทัคคบาลี เลิศกว่าพวกภิกษุสาวกของเราผู้มีทิพยจักษุ)
1180 อนุศาสนีปาฏิหาริย์ อย่างไรเล่า? นัยยะที่1.เป็นผู้รักษาศีล สร้างกุศล ละอกุศล 2.ผู้เข้ามาบวช 3.ภิกษุผู้ปฏิบัติจนสิ้นอาสวะ
1143 อนุสสติ ๖ ประการ อริยสาวก 1.ย่อมระลึกถึงตถาคต 2.พระธรรม 3.พระสงฆ์ 4.ศีลของตน 5.จาคะของตน 6.ระลึกถึงเทวดาว่ามีอยู่
577 อนุสัย เวทนา-เป็นทางมาแห่งอนุสัย..เมื่อเวทนาถูกต้องแล้ว อนุสัยคือราคะ คือปฏิฆะ คืออวิชชา ย่อมนอนเนื่องอยู่ในสันดาน
611 อนุสัย ๓ คู่กับเวทนา ๓ อนุสัย 3 คือ ราคานุสัย (เกิดจากสุข) ปฏิฆานุสัย (เกิดจากทุกข์) อวิชชานุสัย (เกิดจาก อทุกขมสุข)
S7-191 อนุสัย ๗ ๑.กามราคะ ๒.ปฏิฆะ ๓.ทิฏฐิ ๔.วิจิกิจฉา ๕.มานะ ๖.ภวราคะ ๗.อวิชชา
610 อนุสัย ๗ อนุสัยคือความเคยชิน ที่นอนเนื่องอยู่ในสันดาน กามราคะ‪‎ ปฏิฆะ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา มานะ ภวราคะ อวิชชา
S5- 105 อนุสัย คืออย่างไร? ผลเสียของการปล่อยจิตให้เพลินกับอารมณ์ ก่อให้เกิดอนุสัยทั้ง ๓ ได้แก่ ราคานุสัย ปฏิฆานุสัย อวิชชานุสัย
164 อนุสัย ไม่อาจจะเกิด เมื่อรู้เท่าทันเวทนาในปฏิจจ (ตา+รูป + จักขุวิญญาณ) นั่นคือผัสสะ; เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย
612 อนุสัยทั้ง ๓ ไม่เกิดแก่อริยสาวก แม้เมื่อเสวยทุกขเวทนา เพราะการไม่ติดพัน ... การดับเย็น
1747 อนุสัย ๗ (สังโยชน์๗) รวมเรื่องอนุสัย คือความเคยชิน คือกิเลสในสันดาน
292

อนุสาสนีปาฏิหาริย์ อิทธิปาฏิหาริย์ (ตรัสกับเกวัฏฏะ เรื่อง อนุสาสนีปาฏิหาริย์)

S2- 64 อนุสาสนีปาฏิหาริย์ (คำพูดที่เป็นไปเพื่อการหลุดพ้น)
939 อนุโสตสูตร บุคคล ๔ จำพวก มีปรากฏอยู่ในโลก ผู้ไปตามกระแส ผู้ไปทวนกระแส ผู้มีตนตั้งอยู่แล้ว ผู้เป็นพราหมณ์ข้ามถึงฝั่ง

4 อบ อปร อปริ อภัย อภิ อมนุษย์
S6- 147 อบรมกาย อบรมจิต-บุคคลที่ไม่ได้อบรม ผู้มิได้สดับ มีสุขเวทนาเกิดขึ้นเขาถูกสุขเวทนาเข้าย่อมยินดีในสุขเวทนา
1057 อปรโคยานทวีป เรื่องมนุษย์ในโลกธาตุ (อีกกลุ่มหนึ่ง) จูฬนีสูตร โกศลสูตรที่๑ (มนุษย์ในโลกธาตุนี้มี 4 กลุ่ม)
624 อปริหานิยธรรมทั้ง ๗ และ อปริหานิยธรรม ๖ ข้อปฏิบัติที่มีแต่ความเจริญไม่มีเสื่อม แสดงกับเจ้าวัชชี
880 อภัยทาน อเวรทาน อัพยาปัชฌทาน อริยสาวกเว้นขาดจากปาณาติบาตแล้ว ย่อมชื่อว่า ให้อภัยทาน อเวรทาน อัพยาปัชฌทาน
583 อภัยทาน-สมุททกสูตรที่ ๑๐ ฤาษีพบอสูรเพื่อขออภัยทานแต่อสูรไม่ให้ บอกให้ได้แต่ภัยเพราะฤาษีคบเทวดา อสูรจึงถูกฤาษีแช่ง
824 อภิญญา ๖ มีอิทธิวิธี.. ทิพย์โสต..เจโตปริยญาณ(รู้ใจสัตว์)...บุพเพนิวาสา(ระลึกชาติได้) ทิพยจักษุ.. อาสวักขยญาณ
S4- 73 อภิธรรม-ผู้ที่ไม่ควรพูดอภิธรรม (ในอนาคตจะมีภิกษุ ที่มิได้อบรมกาย ศีล จิต และปัญญา จะมีธรรมอันเป็นมลทินที่เป็นมิจฉา)
1466-74 อภิธรรม รวมเรื่องพระอภิธรรม อภิธรรมคืออะไร อภิธรรมในทัศนะของท่านพุทธทาส ธรรมดำ ธรรมขาว อปุมาเรื่องม้า 3 ประเภท
1496 อภิธรรม พระจิตตหัตถิสารีบุตร พูดแทรกขณะภิกษุเถระ กำลังสนทนาพระอภิธรรม ถูกท่านพระมหาโกฏฐิตะตักเตือน
1474 อภิธรรมปิฎก 12 เล่ม (หรือ พระไตรปิฎกเล่มที่ 34 - 45 )
  (อภิภายตนะ)
276 อภิภายตนสูตร ว่าด้วยอภิภายตนะ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๓ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๕ [ฉบับมหาจุฬาฯ]อังคุตตรนิกาย
278 อภิภายตนะ ๖ ประการ ปริหานสูตร : ปริหานธรรม-อปริหานธรรม-อภิภายตนะ๖ (ผู้มีธรรมอันไม่เสื่อม ภาวะที่มีอำนาจเหนืออายตนะ)
S1- 01 อภิภายตนะ ๖ เป็นไฉน (มีอำนาจเหนืออายตนะทั้ง6)
277 อภิภายตนะ ๘ ประการ เครื่องครอบงำ สมาธิระดับอรูป: อรูปภายใน เห็นรูปภายนอก อันเขียว มีวรรณะเขียว เขียวล้วน
704 อภิสมยวรรคที่ ๑๐ (รวม 11 พระสูตร) ทุกข์ที่เหลือของอริยะ และการตรัสรู้ธรรม พระองค์อุปมาไว้หลายนัยยะ
704 อภิสมยวรรคที่ ๑๐ (รวม 11 พระสูตร) ทุกข์ที่เหลือของอริยะ และการตรัสรู้ธรรม พระองค์อุปมาไว้หลายนัยยะ
730 อมนุษย์ เรื่อง อมนุษย์ บางพระสูตรที่ปรากฎในพระไตรปิฎก ฉบับหลวง

5 อย่า อรกา อรหันต์
S1-02 อย่าแก่เลย-ฐานะ ๕ ประการที่ไม่อาจได้ตามที่ปราถนา (อย่าแก่ อย่าเจ็บ อย่าตาย อย่าสิ้นไป อย่าวินาศเลย )
S1-21 อย่าตำหนิธรรมของตถาคตเด็ดขาด (นรก)หากไม่สละคืนทิฏฐินั้นเสีย ก็เที่ยงแท้ที่จะตกนรก ดังถูกนำมาฝังไว้.
367 อรกานุสาสนีสูตร (อุปมาชีวิตของมนุษย์ฯ) เหมือนน้ำค้างยอดหญ้าถูกแสงอาทิตย์..เปรียบเหมือนแม่โคกำลังเดินไปสู่โรงเชือด)
1370 อรกานุสาสนีสูตร อรกะ เป็นเจ้าลัทธิ ปราศจากความกำหนัดในกาม กล่าวสอนสาวก พระผู้มีพระภาคให้การรับรอง
1529 อรณวิภังคสูตร ธรรมที่ไม่มีกิเลส ธรรมที่ไม่มีข้าศึก ดูกรภิกษุ ท. เราจักแสดง อรณวิภังค์ แก่เธอทั้งหลาย
599 อรหันต์ 2 ประเภท ธาตุสูตร (นิพพานธาตุ 2 ประการ) สอุปาทิเสส กับ อนุปาทิเสส ความแตกต่างของอรหันต์ 2 ประเภท
1088 อรหันต์ นิพพานแล้วไปไหน อัคคิวัจฉโคตตสูตร วัจฉะ.. พระอรหันต์ ไปเกิดก็ไม่ใช่ ไม่เกิดก็ไม่ใช่..ไปเกิดหรือไม่เกิดก็ไม่ใช่
243 อรหันต์ แสดงฤทธิ์เหาะขึ้นไปเอาบาตรไม้ ภารทวาชะ (ประวัติ) พระอรหันต์ที่แสดงฤทธิ์เหาะขึ้นไปเอาบาตรลงมา
331 อรหันต์ หลักทดสอบความเป็นอรหันต์ (มี ๖ หมวด 1ผัสสะสี่ 2อุปาทานขันธ์๕ 3ธาตุหก 4-5อายตนะใน - นอก 6การถอนมานะ )
S1- 33 อรหันต์-ข้อแตกต่าง อรหันต์สัมมาสัมพุทธะกับอรหันต์ (มรรคานุคา)
1103 อรหันต์-ทดสอบความเป็นอรหันต์ อรหันต์ 3 รูป เหตุแห่งความสามัคคี (จูฬโคสิงคสาลสูต) พระอนุรุทธ พระนันทิยะ พระกิมิละ
1514 อรหันต์-ทดสอบผู้บรรลุอรหัตตผล..เธออย่าพึ่งยินดี อย่าพึ่งคัดค้าน พึงสอบถามภิกษุไปตามลำดับขั้นดังนี้
217 อรหันตสูตร - อินทรีย์ 5 อาศัยผัสสะ - (อินทรีย์ ๕ อาศัยผัสสะ เกิดเวทนา)

6 อริย อริยะ อริยสัจ อรัญ
S3-22 อริยมรรค คือมิตรที่ดี - สุริยเปยยาลที่ ๖ กัลยาณมิตตสูตรที่ ๑ มิตรดีเป็นนิมิตแห่งอริยมรรค(มรรค8)
226 อริยมรรค มีองค์ ๘ (สัมมาทิฏฐิ-สังกัปปะ-วาจา-สัมมากัมมันตะ-สัมมาอาชีวะ-สัมมาวายามะ(ความเพียร)-สัมมาสติ-สัมมาสมาธิ)
165 อริยวิเรจน ยาถ่ายอันเป็นอริยะ ให้ผลส่วนเดียวไม่มีไม่ให้ผล (แก้ได้ด้วย มรรคมีองค์ 8)
1410 อริยะบุคคล ๔ จำพวก และคุณสมบัติ (ผัง) โสดาบัน สกทาคามี อนาคามี อรหันต์) สังโยชน์เบื้องต่ำ ๕ สังโยชน์เบื้องสูง ๕
S13-15 อริยะบุคคล ๔ จำพวก อีกนัยยะหนึ่ง สมณะมจละ(ผู้ไม่หวั่นไหว) สมณะบุณฑริก(บัวขาว) สมณะปทุมะ(บัวชมพู) สมณะสุขุมาล
1715 อริยะบุคคล ย่อมเห็นตรงกันข้ามกับชาวโลก...ปุถุชนเป็นผู้มีรูป เป็นที่มายินดี แต่พระอริยะ ไม่ยินดีในรูป (ปัคคัยหสูตรที่ ๑)
705 อริยะ - ทุกข์ที่เหลือของอริยะ ธาตุสังยุตต์ (รวม 10 พระสูตร) ความแตกต่างแห่งธาตุเป็นไฉน รูปธาตุ จักขุธาตุ วิญญาณธาตุ
704 อริยะ - ทุกข์ที่เหลือของอริยะ อภิสมยวรรคที่ ๑๐ (รวม 11 พระสูตร) และการตรัสรู้ธรรม พระองค์อุปมาไว้หลายนัยยะ
920-6 อริยะวินัย จากพระโอษฐ์ เถระดี เถระที่ไม่ต้องระวัง อาเนญชาสมาธิ เนื้อนาบุญของโลก พระโสดาบัน สกทาคามี อนาคามี อรหันต์
920-2 อริยะวินัย จากพระโอษฐ์ ผู้ชี้ขุมทรัพย์..เราจักชี้โทษแล้วชี้โทษอีก ภิกษุนกแก้ว นกขุนทอง ..ผู้รู้ธรรมไม่ทั่วถึง ผู้หล่นจากศาสนา
920-4 อริยะวินัย จากพระโอษฐ์ ผู้มีศีลไม่สะสม ไม่ดูการเล่น ไม่ดูการฟ้อน ฟังขับ ฟังนิยาย ฟังเพลง ปรบมือไม่ประดับตกแต่ง ปลุกเสก
920-3 อริยะวินัย จากพระโอษฐ์ ไม่รู้ปฏิจจไม่ได้เป็นสมณะ ผู้ตกเหวสมณะผู้ไม่รู้ตามความเป็นจริงในทุกข์ ผู้ที่ควรเข้าใกล้ ผู้มีศีลสมาธิปัญญา
920-5 อริยะวินัย จากพระโอษฐ์ เรียกร้องหาศาสดาเพื่อความเป็นศัตรู เรียกร้องหาศาสดาเพื่อความเป็นมิตร สมณสากยปุตติยะที่แท้
920-7 อริยะวินัย จากพระโอษฐ์ เรื่องอื่นๆ
920 อริยะวินัย จากพระโอษฐ์ ลาภสักการะ.. อันตรายทารุณเผ็ดแสบ หมือนสุนัขขี้เรื้อน เต่าติดชนัก ปลากลืนเบ็ด ผู้กินคูถ ดูดีสัตว์
  (อริยสัจ อรัญ)
S1- 40 อริยสัจ-จงสงเคราะห์ผู้อื่นด้วยรู้อริยสัจ ทุกข์ เหตุเกิด เหตุดับ วิธีดับทุกข์
S1- 23 อริยสัจ-ธรรมอันเราแสดงแล้วว่า “เหล่านี้ คืออริยสัจทั้ง ๔”
560 อริยสัจ-เปรียบเรียนอริยสัจ กับหนู 4 จำพวกหนูขุดรูแต่ไม่อยู่:เรียนปริยัติแต่ไม่รู้อริยสัจ-หนูไม่ขุดรูแต่อยู่:ไม่เรียนปริยัติแต่รู้อริยสัจ
559 อริยสัจ-ผู้ไม่รู้อริยสัจ ชื่อว่าตกอยู่ในที่มืด-อยู่ในหลุมเพลิง เพราะเขายินดีต่อสิ่งปรุงแต่งที่เป็นไปเพื่อความเกิดที่สร้างเอง
171 อริยสัจ-พ้นทุกข์โดยไม่รู้อริยสัจเป็นไปไม่ได้ เพราะไม่รู้ถึง ซึ่งอริยสัจสี่,เราและพวกเธอทั้งหลาย จึงได้ท่องเที่ยวไปในสังสารวัฏ
566 อริยสัจสี่ - ที่ทรงแสดงโดยพิสดาร โดยละเอียด
166 อริยสัจสี่ ความจริงอันประเสริฐมีสี่อย่างเหล่านี้, สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ?
564 อริยสัจสี- ผลของการรู้ และไม่รู้อริยสัจสี่ เปรียบซัดท่อนไม้ขึ้นสู่อากาศ..และการดับเร่งดับไฟที่ลุกโพรงบนศรีษะ..
798 อริยสัจสี่ อันมีรอบ(ปริวัฏฏ์)สาม มีอาการสิบสอง..สัจจญาณ กิจจญาณ กตญาณ(ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่างเกิดขึ้นแล้ว)
562 อริยสัจสี่ ทรงพยากรณ์เฉพาะเรื่องอริยสัจสี่ ว่านี้ทุกข์ เหตุเกิดทุกข์ ...เรื่องอื่นที่ไม่เป็นไปเพื่อดับทุกข์ ไม่ทรงพยากรณ์
S7-213 อริยสัจสี่-การรู้อริยสัจ รีบด่วนกว่าการดับไฟบนศีรษะ ต้องใช้..ฉันทะ วายามะ อุสสาหะ อัปปฏิวานี สติ และสัมปชัญญะ
S8 -244 อริยสัจสี่-ควัมปติสูตร ผู้เห็นทุกข์ ชื่อว่าเห็นใน สมุทัย นิโรธ มรรค (เห็นอย่างใดอย่างหนึ่ง ย่อมเห็นที่เหลือทั้งหมด)
563 อริยสัจสี่-ทรงบันลือสีหนาท ประกาศจตุราริยสัจ(อริยสัจสี่)พระยาสัตว์ชื่อสีหะ ออกจากถ้ำที่อาศัย สัตว์ทั้งหลายก็สะดุ้งกลัว
177 อริยสัจ ๔ (โดยละเอียด) (ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค)
490 อริยสัจ ๔ โดยละเอียด ๑. ทุกขอริยสัจ๒. ทุกขสมุทยอริยสัจ๓. ทุกขนิโรธอริยสัจ๔. ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
561 อริยสัจ หลายนัยยะ
1405 อริยสัจสี่ หลากหลายนัยยะ คือคุณสมบัติของอริยะบุคคล ..ตถาคตก็เป็นอริยะ.. รู้อริยสัจแลกกับถูกแทงด้วยหอกวันละ 300 ครั้ง
1406 อริยสัจสี่ ในรูปแบบต่างๆ.. นัยยะทั่วไป ปัญจุปาทานขันธ์ อายตนะภายในหก แสดงด้วยคำว่าอันตะ ด้วยสักกายะ ด้วยคำว่า โลก
1442 1. อริยสัจสี่ รวบรวมจาก พระไตรปิฎกฉบับหลวง
1443 2. อริยสัจสี่ วบรวมจาก หนังสือพุทธวจน
1444 3. อริยสัจสี่ รวบรวมจาก อริยสัจจจากพระโอษฐ์
1445 4. อริยสัจสี่ โดยสรุปมี ๖ นัยยะ
1352 อริยะอุโบสถ มี 3 แบบ โคปาลกอุโบสถ นิคัณฐอุโบสถ อริยอุโบสถ (อุโปสถสูตร)
1440 อรัญญิกธุดงค์ โคลิสสานิสูตร (เรื่องมารยาทและคุณสมบัติของพระป่า) พระสารีบุตรปรารภ กับ โคลิสสานิภิกษุ
   

7 อวด อวิชชา
1181 อวดอุตริ ทรงติเตียนเรื่องอวดอุตริ ... ยอดมหาโจร คืออวดคุณวิเศษที่ไม่จริง เพื่อการได้มาซึ่งอาหาร และโภคทรัพย์
667 อวดอุตริ มหาโจร ๕ จำพวก 1 บวชหาบริวาร 2 ยกตนข่มท่าน 3 ตามกำจัดภิกษุผู้บริสุทธิ์ 4 หวังสิ่งของ 5 อวดอุตตริอันไม่เป็นจริง
1182 อวดอุตริ ห้ามอวดธรรมแก่ อนุสัมปัน (สามเณร และคฤหัสถ์) ต้องอาบัติปาจิตตีย์ เช่น ว่าตนได้ฌาน ได้ญาณ ได้สมาธิระดับต่างๆ
920-7 อวดอุตริ ปาราชิก๔ ภิกษุอวดอุติในธรรมที่ไม่มีในตนต้องปาราชิก ..ภิกษุใดมีธรรมในตนแต่อวด หรือแสดง ต้องปรับอาบัติทุกกฎ
S12-33 อวดคุณวิเศษที่ไม่จริง ภิกษุมหามหาโจร ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะภิกษุนั้นฉันก้อนข้าวของชาวแว่นแคว้น ด้วยอาการแห่งคนขโมย
S12-34 ทรงติเตียนเรื่องภิกษุอวดอุตริ ว่าเป็นโมฆะบุรุษ พึงเข้าถึงอบายทุคติ วินิบาต นรก ซึ่งการกระทำนี้แลเป็นเหตุ
1565 ศีลที่เป็นกุศล มี อวิปปฏิสาร เป็นผล มีอวิปปฏิสาร เป็นอานิสงส์ อวิปปฏิสาร มี ปราโมทย์เป็นผล มีความปราโมทย์ เป็นอานิสงส์
708 อวิชชา- เป็นธาตุใหญ่ สัญญา ทิฐิ วิตก เจตนา เลว ปานกลาง ปราณีต เกิดขึ้นเพราะอาศัยธาตุที่แตกต่างกัน
S3- 32 อวิชชาเป็นอาหารของภวตัณหา (ปฏิจจสมุปบาท แห่ง อาหารของภวตัณหา)
1101 อวิชชา - ไม่รู้จักขันธ์ ๕ ชื่อว่า มีอวิชชา. ผู้ไม่ได้ยินได้ฟัง ย่อมไม่รู้จักรูป ไม่รู้จักเหตุเกิด ไม่รู้จักความดับ ไม่รู้จักทางดำเนิน
542 อวิชชา-วิชชา (ความหมาย 3 นัยยะ) ไม่รู้ในทุกข์ เหตุให้เกิด ความดับ...ไม่รู้ชัด อันมีความเกิดขึ้น-เสื่อมไปเป็นธรรมดา
204 อวิชชาสูตร (เงื่อนต้นแห่งอวิชชาย่อมไม่ปรากฏในกาลก่อน-นิวรณ์5 คืออาหารของอวิชชา)

8 อสัง อสัป อสัญ อสูร อหัง อัก อัค อัจ อัง อัช
1113 อสังขตะ (๑) คือ ความสิ้นราคะ โทสะ โมหะ ทางที่จะไปให้ถึงอสังขตะ คือ...(1) กายคตาสติ (2) สมถะ และวิปัสนา
1114 อสังขตะ (๒) ทางที่จะไปให้ถึงอสังขตะคือ สมถะและวิปัสสนา /สมาธิ 8 ระดับ / โพธิปักขิยธรรม 37 / กายคตาสติ
1226 อสังขารปรินิพพายี สสังขารปรินิพพายี นิพพานปัจจุบัน-หลังกายแตก
S7-219

อสังขาร-สสังขารปรินิพพายี บุคคล๔จำพวก ๑.สสังขารก่อนตาย ๒.สสังขาร-หลังตาย ๒.อสังขารก่อนตาย ๔.อสังขาร-หลังตาย

1629 อสัญญีสัตว์ (ชุดรวมเรื่อง) เทวดาชั้นรูปภพ (ชั้นพรหม) เป็นเทวดาที่มีรูปแต่ไม่มีสัญญา อยู่ในสัตตาวาสชั้นที่ ๕
S3- 10 อสัปปุริสทาน และ สัปปุริสทาน ๕ ประการ(การให้ทาน) ให้โดยเคารพ อ่อนน้อม ด้วยมือตนเอง ของไม่เป็นเดน...
393 อสูร ในพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 4 ประเภท มีคนเช่นกับอสูรเป็นบริวาร ..มีคนเช่นกับเทวดาเป็นบริวาร .. มีคนเช่นกับอสูรเป็น..
206 อสูรชื่นชมมหาสมุทร-ความอัศจรรย์ไม่เคยมีในมหาสมุทร ๘ ประการ (อสูรชื่นชม)
582 อสูร-สงครามวาทะ เทวดา กับอสูร เรื่องการกำจัดคนพาลด้วยความอดกลั้น ใช้ขันติ ทำให้ไม่เกิดการทะเลาะวิวาท
385 อหังการ มมังการ มานานุสัย กัปปสูตร ความไม่มีอหังการ ยึดว่าเป็นตัวเรา/ มมังการ-สำคัญว่าเป็นตัวเรา/ มานานุสัย -ความถือตัว
1052 อหังการ มมังการ มานานุสัย พระสูตรตรัสกับ ราธะ การไม่มีอหังการ มมังการ มานานุสัย
1511 อหังการ ตรัสกับราหุล การรู้ การเห็น ที่ไม่ให้มี อหังการ-มมังการ-มานานุสัย เห็นด้วยปัญญาว่า รูป เวทนา สัญญา .. ไม่ใช่ของเรา
548 อักโกสกสูตร : โทษของคนทุศีล ศีลวิบัติ ๕ ประการ เสื่อมทรัพย์ ศีลวิบัติย่อมฟุ้งไป ไม่องอาจ ตายไปย่อมเข้าถึง อบาย- นรก
613 อัคคัญญสูตร (สามเณร วาเสฏฐ กับ ภารทวาช) บุตรพราหมณ์ บวชกับพระพุทธเจ้าเล่าให้ฟังว่า ถูกพวกพราหมณ์ตำหนิ บอกว่า
วรรณะพราหมณ์ประเสริฐกว่าวรรณะโกนหัว พระพุทธเจ้าตรัสว่า พวกพราหมณ์เกิดมาจากช่องคลอด จะบริสุทธิได้อย่างไร
113 อัคคัญญสูตรที่ ๔- ง้วนดิน (ชีวิตเริ่มต้นของสัตว์ กำเนิดของโลกธาตุ ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์)
1144 อัคคิขันธูปมสูตร คำเตือนของ พ.เรื่องภิกษุทุศีล หลังตรัสจบภิกษุ ๖๐ รูป เลือดพุ่งออกจากปาก, ๖๐ รูป ลาสิกขา,๖๐รูป จิตหลุดพ้น
284 อังคุลิมาลสูตร (เรื่องราวขององคุลีมาลโจร ชื่อเดิมว่า อหิงสกะ)
1429 อังคิกสูตร เจริญสัมมาสมาธิที่ประกอบด้วยองค์๕ บรรลุปฐมฌาน ๑ - ฌาน๔ และ แทงตลอดด้วยดี ซึ่งปัจจเวกขณนิมิตด้วยปัญญา
1745 อัจฉริยสูตร ความอัศจรรย์ ๔ ประการ ของพระตถาคต ของพระอานนท์ และพระมหาจักรพรรดิ
1118

อัจฉริยัพภูตธัมมสูตร  สิ่งมหัศจรรย์ เป็นปาฎิหาริย์ ในการประสูติ ของพระพุทธเจ้าทุกพระองค์

1527 อัจฉริยัพภูตธัมมสูตร การจุติของโพธิสัตว์จากชั้นดุสิตลงมาสู่โลกมนุษย์ (ฉบับหลวง)
621 อัชฌัตติกสูตร(๑-๑๐) ว่าด้วยเหตุแห่งสุขและทุกข์ภายใน เรื่องทิฎฐิ สักกายทิฎฐิ ความยึดมั่น อัตตา อนิจจัง
496 อัชฌัตติกอนิจจสูตร ..ไม่ที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา รูปที่เป็นอดีต อนาคต ปัจจุบัน ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา

9 อัญ อัฎ อัตตา อัตถิ อัน อัป อัม อัศ อัส
682 อัญญตรสูตร (เสวยวิบากกรรม) ตรัสกับพราหมณ์ คนนั้นทำเหตุ คนนั้นเสวยผล คนอื่นทำเหตุ คนอื่นเสวยผล
684 อัญญตรสูตร สิ่งทั้งปวง มีอยู่หรือหนอ นี้เป็นทิฐิแห่งโลกที่หนึ่ง.. ตถาคตแสดงธรรมโดยสายกลาง ไม่เข้าใกล้ส่วนสุดเหล่านั้น
431 อัฏฐานบาลี- โอกาสที่เป็นไม่ได้ (พุทธเจ้าสองพระองค์ จะอุบัติขึ้นพร้อมกันในโลกธาตุเดียวกันนั้น มิใช่ฐานะ มิใช่โอกาส )
1413 อัตตามี หรือ ไม่มี ถ้าตอบว่ามีก็จะไปตรงกันกับความเชื่อสัสสตทิฏฐิ (โลกเที่ยง) ถ้าตอบไม่มีก็จะไปตรงกับ อุจเฉททิฏฐิ (ขาดสูญ)
693 อัตถิราคสูตร อาหาร ๔ กวฬีการาหาร ผัสสาหาร มโนสัญ เจตนาหาร วิญญาณาหาร ...ถ้าอาหารสี่มีวิญญาณตั้งอยู่ความยินดีย่อมมี
519 อันวยญาณ- ธัมมญาณ ธรรมญาณ ธรรมญาณ คือญาณในธรรม - อันวยญาณ ญาณคือความรู้ รู้ชัดในอริยสัจสี่ รู้ชัดว่าชรา มรณะ
940 อัปปสุตสูตร บุคคล ๔ จำพวก มีสุตะน้อยไม่เข้าถึงสุตะ ผู้มีสุตะน้อยเข้าถึงสุตะ ..สุตะมากไม่เข้าถึงสุตะ..สุตะมากเข้าถึงสุตะ
1339 นางอัมพปาลี หญิงงามเมือง ทำภัตตาหาร และถวายสวนป่า แด่พระผู้มีพระภาค
1339 อัมพปาลีวัน (สวนป่า) นางอัมพปาลี (หญิงงามเมือง) ถวายแด่ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข ทรงรับเป็นสังฆาราม
1244 อัศจรรย์ ๔ อย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน กามคุณ-ถือตัว-ไม่สงบ-มีอวิชชา ครั้นตถาคตแสดงธรรม คนเหล่านั้นก็เงี่ยหูฟัง ไม่เคยมีมาก่อน
423 อัสสชิเถระ- สัจจกนิครนถ์ (อัคคิเวสสนะ) สนทนากับพระอัสสชิเถระ และได้โต้วาทะพระพุทธเจ้าจนเหงื่อตก (พระสูตรเต็ม)
403 อัสสชิเถระ แสดงธรรมให้พระสารีบุตร สิ่งใดมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นมีความดับไปเป็นธรรมดา ทำให้ ส.บรรลุธรรม
250 อัสสชิสูตร (ว่าด้วยความเป็นอนิจจังแห่งเวทนา ตรัสกับพระอัสสชิ ขณะอาพาธ)
695 อัสสุตวตาสูตร ผู้ได้สดับจะเบื่อหน่ายในร่างกาย เพราะความเสื่อมของกาย แต่ไม่อาจเบื่อหน่ายในจิตได้ เพราะทิฐิที่ว่า นั่นเป็นเรา..
477 อัสสุตวตาสูตรที่ ๑ บุคคลย่อมเบื่อกายแต่ไม่เบื่อจิต เพราะไม่ได้สดับ.. จิตเหมือนลิงจับกิ่งไม้..จิตดวงหนึ่งเกิดขึ้น ดวงหนึ่งดับไป
478 อัสสุตวตาสูตรที่ ๒ ปุถุชนผู้มิได้สดับ รวบรัดถือไว้ด้วยตัณหา ยึดถือด้วยทิฐิว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตัวตนของเรา

10 อาการ อาคา อาฆาต อาชิน อาฏา อาทิต อานนท์ อานัน อานา อาพาธ
476 อาการ ปฏิจจสมุปบาท ปัจจยาการแม่เพียงอาการเดียว ก็ยังเรียกว่า ปฏิจจสมุปบาท (อิทิป) คือความตั้งอยู่แห่งธรรมดา 
201 อาการจิต-ทิฏฐิ ๖๒ (อาการจิตของมนุษย์)
1603 อาคามี คือผู้กลับมา (ก่อนตายยังละโอรัมภาคิยสังโยชน์ไม่ได้) อนาคามี คือผู้ไม่กลับมา (ก่อนตายละโอรัมภาคิยสังโยชน์ได้)
1075 อาฆาตสูตร ธรรมเป็นที่ระงับความอาฆาต๕ ประการ เจริญเมตตา กรุณา อุเบกขา ไม่นึกถึงบุคคลนั้น..นึกถึงว่าเป็นกรรมของตน
304 อาชินสูตร -วาทะของผู้เป็นบัณฑิต(มีมรรค๘) (บุคคลบางคนย่อมข่มขี่บีบคั้นวาทะอันไม่เป็นธรรม ด้วยวาทะอันไม่เป็นธรรม)
1024 อาฏานาฏิยสูตร (ฉบับหลวง) ท้าวเวสวัณมหาราช เข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาค เทียบเคียงกับ ของท่านพุทธทาส ที่คัดมาเฉพาะพุทธจน
401 อาทิตตปริยายสูตร สิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน ตรัสสอนชฎิล 3 พี่น้องและสาวกของชฎิลอีก 1000 รูป หลังขอบวชกับพระศาสดา
651 อาทิตตปริยายสูตร บุคคลถูกแทงจักขุนทรีย์ด้วยเหล็กร้อน ยังดีกว่าการยินดีในรูป ผู้ยินดีพึงเข้าถึงนรก หรือกำเนิดสัตว์เดียรฉาน
727 อานนท์ ชนวสภสูตร พระอานนท์ขอให้พระศาสดาพยากรณ์ ชาวมคธ ที่ทำกาละ ว่าไปเกิดในภพไหน ..พระเจ้าพิมพิสารเกิดเป็นยักษ์
1545 อานนท์ พระอานนท์แสดงธรรมให้กับอนาถบิณฑิกป่วยเป็นไข้หนัก เรื่องประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ ย่อมไม่สะดุ้งหวาดเสียวกลัวตาย
1329 อานนท์ถูกพระผู้มีพระภาคตำหนิ เรื่อง ข้าวยาคู ว่าเป็นของภิกษุทั้งวัด ห้ามเก็บไว้ในกุฏิส่วนตัว ผู้ใด้เก็บไว้ต้องอาบัติทุกกฎ
1673 อานนท์ถูกพระมหากัสสปตำหนิ เรื่อง ขาดความสำรวมอินทรีย์ ยังเที่ยวจาริกไปกับภิกษุหนุ่ม (จีวรสูตร)
210 อานันทสูตร ว่าด้วยสิ่งที่เป็นอนิจจัง และมิใช่ของเรา (ตรัสถามอานนท์ รูป เที่ยง หรือไม่เที่ยง)
184 อานาปานสติ เป็นสุขวิหารระงับได้ซึ่งอกุศล
S1- 12 อานาปานสติ คือวิหารธรรม (ตถาคตวิหาร)
1087 อานาปานสติ กระทำให้มาก กายและจิตย่อมไม่ไหวเอน จิตก็ไม่ดิ้นรน มหากัปปินสูตร (พระมหากัปปินะ)
168 อานาปานสติสูตร (ทำให้มากย่อมมีผลใหญ่ สติปัฏฐานทั้งสี่ให้บริบูรณ์ โพชฌงค์ทั้งเจ็ดบริบูรณ์ วิชชาและวิมุตติให้บริบูรณ์)
488 อานาปานสติสูตร-บทสวด
1324 อานาปานสติสูตร ในคืนจันทร์เพ็ญ ๑๕ ค่ำ ภิกษุเถระมากรูปพากันให้โอวาท พร่ำสอนภิกษุด้วยกัน ตลอดระยะเวลา 4 เดือน
S1- 05 อานา-อานิสงส์ จริญอานาปานสติสมาธิ (กาย-ตา ไม่ลำบาก)
   
   
 
 
หนังสือพุทธวจน ออนไลน์
90 90 90 90  
 
พุทธประวัติ ขุทรัพย์
อริยสัจ
ภาคต้น
อริยสัจ
ภาคปลาย
ปฏิจ ปฐมธรรม ตถาคต อนาคามี อินทรีย์
สังวร
สัตว์
สัตตานัง
ทาน
สกทาคามี
ฆราวาส
ชั้นเลิศ
มรรควิธี
ที่ง่าย
 
   
อริยวินัย เดรัจฉานวิชา กรรม สมถะ
วิปัสสนา
โสดาบัน อานา
ปานสติ
จิต มโน
วิญญาณ
ก้าวย่าง
อย่างพุทธะ
ตามรอย
ธรรม
ภพ ภูมิ
พุทธวจน
สาธยาย
ธรรม
สังโยชน์