เว็บไซต์ อนาคามี เผยแพร่ พุทธวจน คำสอนของพระศาสดา คำสอนตถาคต รวมพระสูตรสำคัญ อนาคามี เว็บไซต์เผยแพร่คำสอนของพระพุทธเจ้า
ค้นหาคำที่ต้องการ       


  ชุด (1) มีเรื่อง  
   1. นิพพาน ๑๒ นัยยะ  5. ทิฏฐิ ๖๒ จำนวน ๑๖ กลุ่ม
   2. บุคคล ๔ จำพวก ๑๘ นัยยะ  6. เรื่องธาตุนานัตตสูตร  ๑๓ พระสูตร
   3. มหาปรินิพพานสูตร ๑๔ พระสูตร  7. ปริพาชกเข้าเฝ้า ๘ พระสูตร
   4. สติปัฏฐาน ๔ โดยละเอียด  8. รวมเรื่องทาน ๒๕ แบบ
 
350 1) นิพพาน มีหลายนัยยะ
  1) ชื่อเรียก นิพพาน (บาลี)
2) ความหมายของนิพพานทางฝั่ง อสังขตะ
3) นิพพานคือสิ่งๆหนึ่ง
4) นิพพาน ในความหมายของ สังขต คือความสิ้นไปแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ
5) นิพพาน ในความหมายของ อสังขตะ คือความสิ้นไปแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ
6) นิพพาน คือ วิราคะ (สิ้นไปแห่งราคะ)
7) นิพพาน คือสรณะ คือความสิ้นไปแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ
8) นิพพาน คือ ที่ ซึ่งนามรูปดับสนิท
9) ลักษณะแห่งนิพพานธาตุสองชนิด คือ สอุปาทิเสสนิพพานธาตุ และอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ
10) นิพพานนี้เป็นสุข
11) วพจน์ของนิพพาน (๓๒ คำ)
12) นิพพานอธิวจนะ สรุปย่อ ชื่อเรียกนิพพาน 32 ชื่อ
 
500 2) จตุกกนิทเทส -บุคคล ๔ จำพวก เป็นไฉน
  1 สัตบุรุษ อสัตบุรุษ
1.คนที่เป็น อสัตบุรุษ เป็นไฉน
2.คนที่เป็น อสัตบุรุษยิ่งกว่าอสัตบุรุษ เป็นไฉน
3.คนที่เป็น สัตบุรุษ เป็นไฉน
4.คนที่เป็น สัตบุรุษยิ่งกว่าสัตบุรุษ เป็นไฉน


2
คนดี คนลามก
1. คนลามก เป็นไฉน
2. คนที่ลามกยิ่งกว่าคนลามก เป็นไฉน
3. คนดี เป็นไฉน
4. คนดียิ่งกว่าคนดี เป็นไฉน


3
คนมีธรรมงาม คนมีธรรมอันลามก
1. คนมีธรรมอันลามก
2. คนมีธรรมลามกยิ่งกว่าคนมีธรรมลามก
3. คนมีธรรมงาม
4. คนมีธรรมงามยิ่งกว่าคนมีธรรมงาม


4
คนมีที่ติ คนไม่มีที่ติ
1. คนมีที่ติ เป็นไฉน
2. คนมีที่ติมาก เป็นไฉน
3. คนมีที่ติน้อย เป็นไฉน
4. คนไม่มีที่ติ เป็นไฉน


5
บุคคลผู้บรรลุมรรค ผู้สั่งสมสุตตะ
1. บุคคลผู้อุคฆติตัญญู เป็นไฉน
2. บุคคลผู้วิปัญจิตัญญู เป็นไฉน
3. บุคคลผู้เนยยะ เป็นไฉน
4. บุคคลผู้ปทปรมะ เป็นไฉน


6
บุคคลผู้ตอบโต้ได้ไว ถูกต้อง - ไม่ไว ไม่ถูกต้อง
1. บุคคลผู้โต้ตอบถูกต้องแต่ไม่ว่องไว
2. บุคคลผู้โต้ตอบว่องไวแต่ไม่ถูกต้อง
3. บุคคลผู้โต้ตอบถูกต้องและว่องไว
4. บุคคลผู้โต้ตอบไม่ถูกต้องและไม่ว่องไว


7
บุคคลเปรียบด้วยวลาหก ๔
1. บุคคลเหมือนฟ้าร้องฝนไม่ตก
2. บุคคลเหมือนฝนตกฟ้าไม่ร้อง
3. บุคคลเหมือนฟ้าร้องฝนตก
4. บุคคลเหมือนฟ้าไม่ร้องฝนไม่ตก


8
บุคคลเปรียบด้วยหนู ๔ จำพวก
1.บุคคลทำที่อยู่ แต่ไม่อยู่
2. บุคคลนี้ก็มีอุปไมยฉันนั้นบุคคล เป็นผู้อยู่ แต่ไม่ทำที่อยู่
3. บุคคลเป็นผู้ทำที่อยู่ และอยู่ด้วย
4.บุคคลทั้งไม่ทำที่อยู่ ทั้งไม่อยู่ด้วย


9
บุคคลเปรียบด้วยมะม่วง ๔ ชนิด
1. บุคคลที่เป็นเช่น มะม่วงดิบ แต่มีสีเป็นมะม่วงสุก
2. บุคคลที่เป็นเช่น มะม่วงสุก แต่มีสีเป็นมะม่วงดิบ
3. บุคคลเช่น มะม่วงดิบมีสีก็เป็นมะม่วงดิบ
4. บุคคลเช่น มะม่วงสุก มีสีก็เป็นมะม่วงสุก


10
บุคคลเปรียบด้วยหม้อ ๔ ชนิด
1.บุคคลที่เป็นคนเปล่าปิด เป็นไฉน
2.บุคคลที่เป็นคนเต็มเปิด เป็นไฉน
3.บุคคลที่เป็นคนเปล่าเปิด เป็นไฉน
4.บุคคลที่เป็นคนเต็มปิด เป็นไฉน


11
บุคคลเปรียบด้วยห้วงน้ำ ๔ ชนิด
1. คนตื้นเงาลึก เป็นไฉน
2. คนลึกเงาตื้น เป็นไฉน
3. คนตื้นเงาตื้น เป็นไฉน
4. คนลึกเงาลึก เป็นไฉน


12
บุคคลเปรียบด้วยโคถึก ๔ จำพวก
1. บุคคลดุพวกของตนไม่ดุพวกอื่น
2. บุคคลดุพวกอื่นไม่ดุพวกของตน
3. บุคคลดุทั้งพวกของตน ดุทั้งพวกอื่น
4. บุคคลไม่ดุทั้งพวกของตน ไม่ดุทั้งพวกอื่น


13
บุคคลเปรียบด้วยอสรพิษ ๔ จำพวกเป็นไฉน
1.อสรพิษมีพิษแล่นเร็ว แต่ไม่ร้าย
2.อสรพิษมีพิษร้าย แต่ไม่แล่นเร็ว
3.อสรพิษมีพิษแล่นเร็วด้วย มีพิษร้ายด้วย
4.อสรพิษมีพิษไม่แล่นเร็วด้วย มีพิษไม่ร้ายด้วย


14
บุคคลผู้มึดมามึดไป มึดมาสว่างไป
1. บุคคลผู้ มืดมามืดไป เป็นไฉน
2. บุคคลผู้ มืดมาสว่างไป เป็นไฉน
3. บุคคลผู้ สว่างมามืดไป เป็นไฉน
4. บุคคลที่ สว่างมาสว่างไป เป็นไฉน


15
บุคคลผู้ทำประโยชน์ และไม่ทำประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น
1.บุคคล ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ตน ไม่ปฏิบัติเพื่อประโยชน์คนอื่น
2.บุคคล ปฏิบัติเพื่อประโยชน์คนอื่นแต่ไม่ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ตน
3.บุคคลปฏิบัติเพื่อประโยชน์ตนด้วย เพื่อประโยชน์คนอื่นด้วย
4.บุคคลไม่ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ตน ไม่ปฏิบัติเพื่อประโยชน์คนอื่น


16
บุคคลผู้ตามกระแส-ทวนกระแส
1.บุคคลไปตามกระแส เป็นไฉน
2.บุคคลไปทวนกระแส เป็นไฉน
3.บุคคลผู้ตั้งตัวได้แล้ว เป็นไฉน
4.บุคคลข้ามถึงฝั่งยืนอยู่บนบก เป็นพราหมณ์ เป็นไฉน


17
บุคคลผู้สุตตะน้อย-สุตตะมาก
1.บุคคลผู้มีสุตะน้อย และไม่ได้ประโยชน์เพราะสุตะ เป็นไฉน
2.บุคคล ผู้มีสุตะน้อย แต่ได้ประโยชน์เพราะสุตะ เป็นไฉน
3.บุคคลผู้มีสุตะมาก แต่ไม่ได้ประโยชน์เพราะสุตะ เป็นไฉน
4.บุคคลผู้มีสุตะมาก และได้ประโยชน์เพราะสุตะ เป็นไฉน


18
สมณะ 4 จำพวก
1.บุคคลผู้เป็นสมณะไม่หวั่นไหว เป็นไฉน
2.บุคคลผู้เป็นสมณะบัวหลวง เป็นไฉน
3.บุคคลผู้เป็นสมณะบัวขาว เป็นไฉน
4.บุคคลผู้เป็นสมณะสุขุมาล ในหมู่สมณะ เป็นไฉน
 
  3) มหาปรินิพพานสูตร
624 มหาปรินิพพานสูตร #๑ อปริหานิยธรรมทั้ง ๗ และ อปริหานิยธรรม ๖ ข้อปฏิบัติที่มีแต่ความเจริญไม่มีเสื่อม แสดงกับเจ้าวัชชี
625 มหาปรินิพพานสูตร #๒ เสด็จไปยัง อัมพลัฏฐิกา นาฬันทคาม ปาฏลิคาม สุญญาคาร และพระองค์พร้อมภิกษุสงฆ์ทรงหายตัว
626 มหาปรินิพพานสูตร #๓ เสด็จถึงโกฏิคาม นาทิกคาม.. แสดงธรรมาทาสแก่สาวก เสด็จเมืองเวสาลีเจ้าลิจฉวีนำเสด็จขึ้นยานท่องไป
627 มหาปรินิพพานสูตร #๔ เจ้าลัจฉวี วรรณะเขียวมีผ้าเขียวเครื่องประดับเขียว บางพวกแดง เหลือง ขาว แต่งคล้ายเทวดาชั้นดาวดึงส์
628 มหาปรินิพพานสูตร #๕ เสด็จไปยังบ้านเวฬุวคาม และทรงจำพรรษาที่นี่ครั้งนั้นทรงประชวรอย่างหนัก ถึงใกล้จะปรินิพพาน
629 มหาปรินิพพานสูตร #๖ มารเข้าเฝ้าขอให้พระองค์ปรินิพพาน..เกิดแผ่นดินไหวขณะปลงสังขาร..ตรัสเรื่อง อภิภายตนะ8 วิโมกข์8
630 มหาปรินิพพานสูตร #๗ อานนท์ถูกมารดลใจ ไม่ให้ร้องขอปลงสังขาร..สติปัฏ- ๔ สัมมัป-๔ อินทรีย์ ๕ พละ๕ โภชฌงค์๗ มรรค ๘
631 มหาปรินิพพานสูตร #๘ เสด็จเวสาลี...จะเห็นครั้งสุดท้าย เสด็จไป หัตถีคาม อัมพคาม ชัมพุคาม โภคนคร. แสดงมหาประเทศ ๔
632 มหาปรินิพพานสูตร #๙ เมืองปาวา นายจุนทถวายภัตเป็นสุกรมัททวะ รับสั่งให้นำไปฝัง พระองค์อาพาธลงพระโลหิต เสด็จกุสินารา
633 มหาปรินิพพานสูตร #๑๐ ปุกกุสะ เล่าว่า อาฬารดาบส ทำสมาธิแล้วไม่ได้ยินเกวียน 500 เล่มผ่านไป..แต่ตถาคตไม่ได้ยินแม้ฟ้าผ่า
634 มหาปรินิพพานสูตร #๑๑ เสด็จถึงกุสินารา มีดอกไม้ทิพย์ ดนตรีทิพย์ เทวดาเข้าเฝ้าโดยรอบ บ้างคร่ำครวญ..ตรัสสังเวชนียสถาน๔
635 มหาปรินิพพานสูตร #๑๒ อานนท์ร่ำให้.. ตถาคตจะปรินิพพาน..กุสินาราเคยเมืองของจักรพรรดิ มหาสุทัสสนะ.. สุภัทท ขอเข้าเฝ้า
636 มหาปรินิพพานสูตร #๑๓ ทรงให้ภิกษุถามข้อสงสัย ตรัส 3 ครั้งแต่เงียบหมด..จากนั้นพระองค์เข้าฌานไปตามลำดับ จนปรินิพพาน
637 มหาปรินิพพานสูตร #๑๔ เทวดาแสดงฤทธิ์.. พระกัสสปพร้อมสงฆ์ 500 รูปมาถึง เชิงตะกอนติดไฟเอง พระสรีระแบ่งเป็น 8กอง
 
  4) สติปัฏฐาน ๔
721 กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน พิจารณาเห็นกายในกาย 6 นัยยะ เดินก็รู้ว่าเดิน รู้ทุกอิริยาบถ พิจารณาเห็นความไม่งาม เห็นเป็นของเน่า
722 เวทนานุปัสนาสติปัฏฐาน สุขเวทนาก็รู้ ทุกขเวทนา..อทุกขมสุข ก็รู้ นี้เรียกว่าเห็นเวทนาในเวทนา..อุเบกขาอิงอามิส และไม่อิงอามิส
723 จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน พิจารณาเห็นจิตในจิต...จิตมีราคะก็รู้ชัดว่าจิตมีราคะ มีโทสะก็รู้ชัดว่าจิตมีโทสะ..มีสติสักแต่ว่ารู้ - ระลึก
724 ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน นีวรณบรรพ เมื่อกามฉันทะ..พยาบาท.. ถีนมิทธะ... อุทธัจจะ..วิจิกิจฉา.. มีอยู่ในจิต ย่อมรู้ชัดว่า มีอยู่
 
  5) ทิฏฐิ ๖๒
733 ทิฏฐิ ๖๒ (กลุ่ม ๑) สัสสตทิฏฐิ : เห็นว่าตัวตน(อัตตา)และโลกเที่ยง เพราะระลึกชาติได้ เป็นแสนชาติ..รวมทั้งเป็นนักเดา(ตริตรึก)
734 ทิฏฐิ ๖๒ (กลุ่ม ๑) เอกัจจสัสสติกทิฏฐิ เห็นว่าบางอย่างเที่ยง บางอย่างไม่เที่ยง รวมทั้งเป็นนักเดาว่ากายไม่เที่ยง จิตเที่ยง
735 ทิฏฐิ ๖๒ (กลุ่ม ๑) อันตานันติกทิฏฐิ เห็นว่าโลกมีที่สุด และไม่มีที่สุด รวมทั้งเป็นนักเดา ว่าโลกมีที่สุดก็ไม่ใช่ ไม่มีที่สุดก็ไม่ใช่
736 ทิฏฐิ ๖๒ (กลุ่ม ๑) อมราวิกเขปิกทิฏฐิ ..เป็นลัทธิที่พูดไม่ตายตัวแบบปลาไหล ทั้งปฏิเสธ และไม่ปฏิเสธ เป็นวาทะที่ลื่นไหล
737 ทิฏฐิ ๖๒ (กลุ่ม ๑) อธิจจสมุปปันนิกทิฏฐิ1.เห็นว่าสิ่งต่างๆมีขึ้นเองเพราะเคยเป็นอสัญญีสัตว์ (มีรูปไม่มีสัญญา) 2.เป็นทิฏฐิที่คิดเอ
738 ทิฏฐิ ๖๒ (กลุ่ม ๒) สัญญีทิฏฐิ ๑๖ ลัทธิเห็นว่าตนทั้ง ๑๖ ประเภทนี้ ตายไปแล้ว ก็มีสัญญาคือ ความจำได้หมายรู้ทั้งสิ้น
739 ทิฏฐิ ๖๒ (กลุ่ม ๒) อสัญญีทิฏฐิ เห็นว่าไม่มีสัญญา ตายไปแล้วก็ไม่มี ไม่มีความจำได้หมายรู้ มีรูปจนที่สุดก็มิใช่ ไม่มีที่สุดก็มิใช่
740 ทิฏฐิ ๖๒ (กลุ่ม ๒) เนวสัญญีนาสัญญีทิฏฐิ ห็นว่ามีสัญญาก็มิใช่ ไม่มีสัญญาก็มิใช่ ตนมีที่สุดก็มิใช่ ไม่มีที่สุดก็มิใช่ 
741 ทิฏฐิ ๖๒ (กลุ่ม ๒) อุจเฉททิฏฐิ ห็นว่ามนุษย์-สัตว์ขาดสูญ(ไม่เกิดอีก) เทวดาที่เป็นทิพย์มีรูป-และไม่มีรูปเมื่อสิ้นชีพ ก็ขาดสูญด้วย
742 ทิฏฐิ ๖๒ (กลุ่ม ๒) ทิฏฐธรรมนิพพานทิฏฐิเห็นสภาพบางอย่างเป็นนิพพาน เช่นได้กามคุณ5 ได้ฌาน 1,2,3,4 ว่านั่นคือนิพพาน
743 ทิฏฐิ ๖๒ ฐานะของผู้ถือทิฏฐิ ธรรมบรรยายนี้เรียก อรรถชาละ,ธรรมชาละ,พรหมชาละ,ทิฏฐิชาละ พิชัยสงครามอันยอดเยี่ยม ก็ได้
 
  6) เรื่องธาตุ นานัตตสูตร
775 ๑. ธาตุนานัตตสูตร.. ว่าด้วยความต่างแห่งธาตุ
776 ๒. ผัสสนานัตตสูตร.. ว่าด้วยความต่างแห่งผัสสะ
776 ๓.โน ผัสสนานัตตสูตร.. ว่าด้วยธาตุที่ ไม่อาศัย ความต่างแห่งผัสสะ
777 ๔. เวทนานานัตตสูตร.. ว่าด้วยความต่างแห่งเวทนา
777 ๕. ทุติยเวทนานานัตตสูตร.. ว่าด้วยความต่างแห่งเวทนา สูตรที่ ๒
778 ๖. พาหิรธาตุนานัตตสูตร.. ว่าด้วยความต่างแห่งธาตุภายนอก
778 ๗. สัญญานานัตตสูตร.. ว่าด้วยความต่างแห่งสัญญา
779 ๘. โนปริเยสนานานัตตสูตร.. ว่าด้วยธาตุที่ไม่อาศัยความต่างแห่งปริเยสนา
780 ๙. พาหิรผัสสนานัตตสูตร.. ว่าด้วยความต่างแห่งผัสสะเพราะอาศัยธาตุภายนอก
781 ๑๐. ทุติยพาหิรผัสสนานัตตสูตร.. ว่าด้วยความต่างแห่งผัสสะเพราะอาศัยธาตุภายนอก สูตรที่ ๒
782 สัตตธาตุสูตร.. ว่าด้วยธาตุ ๗ ประการ
783 สนิทานสูตร.. ว่าด้วยธรรมที่เป็นต้นเหตุ
784 นานานัตตธาตุ.. ปฏิจจสมุปบาทแห่งอารัมมณลาภ นานัตตะ (การได้อารมณ์หก)
 
  7) พราหมณ์และเหล่าปริพาชกเข้าเฝ้าพระศาสดา
790 พราหมณสูตร พราหมณ์ปริพาชก ตรัสถามพระผู้มีพระภาค ถึงธรรมที่ควรเรียกกันมาดู..คือจิตที่ไม่มีราคะ โทสะ โมหะ ครอบงำ
791 ปริพาชกสูตร พราหมณ์ปริพาชก บุคคลผู้ถูกโมหะครอบงำ ย่อมคิดเบียดเบียน ประพฤติทุจริต ไม่รู้ชัดตามความเป็นจริง
792 นิพพุตสูตร ชานุสโสณีพราหมณ์ ตรัสถามหลักธรรมเพื่อเข้าถึงนิพพานที่สามารถบรรลุได้เอง เห็นเอง อันวิญญูชน พึงรู้เฉพาะตน
793 ปโลภสูตร พราหมณ์มหาศาล ทูลถามว่า ทำไมมนุษย์จึงมีน้อยลง.. เพราะความโลภจึงฆ่ากัน ฝนไม่ตกตามฤดู ยักษ์ปล่อยมีอมุษย์
794 สอุปาทิเสสสูตร อัญญเดียรถีย์ปริพาชก กล่าวกับสารีบุตร ว่าผู้ที่ได้ สอุปาทิเสส (อรหันต์) เมื่อกระทำกาละแล้วไม่พ้นนรก
795 ชัปปสูตร วัจฉ-ปริพาชกนำเรื่องไม่จริงมาทูลถามศาสดา ตรัสว่าแม้น้ำล้างภาชนะยังเป็นบุญ จะป่วยกล่าวไปไยถึงทานในมนุษย์
796 ติกรรณสูตร ติกรรณพราหมณ์ วิชชา๓ ของพราหมณ์เป็นสกุล7 ชั่วโคตร... แต่ในอริยวินัยของศาสดาได้ ฌาน 1-4 และวิชชา3
797 สังคารวสูตร สังคารวพราหมณ์ ทรงแสดงธรรมเรื่องปาฏิหาริย์ 3 อย่าง อิทธิปาฏิหาริย์ อาเทสนาปาฏิหาริย์ อนุสาสนีปาฏิหาริย์
 
808 8) ทาน (รวมเรื่องทาน)
  1. การให้ทาน พระพุทธเจ้าทรงเล่าสมัยเป็นพราหมณ์ชื่อ เวลามะ
  2.ผลของทานในบุคคลต่าง ๆ (แบบย่อ)
  3. อานิสงส์ การให้ทาน
  4. ทานของคนดี (นัยที่ ๑)
  5. ทาน (การให้) เป็นอย่างไร
  6. จาคะ (การบริจาค) เป็นอย่างไร
  7. อานิสงส์แห่งการให้ทาน
  8. ผู้ให้ของที่พอใจย่อมได้ของทีพ่อใจ
  9. การให้ทานเป็นเหตุให้เกิดทรัพย์
  10.ทานของคนไม่ดี หรือทานของคนดี
   
  11. ทานของคนดี (นัยที่ ๑)
  12. ทานของคนดี (นัยที่ ๒)
  13. ควรให้ทานในที่ใด (นัยที่ ๑)
  14. ไม่ควรห้ามผู้อื่นให้ทาน
  15. องค์ประกอบของทาน ที่ให้แล้วมีผลมาก (นัยที่ ๑)
  16. องค์ ๓ ของผู้รับเป็นอย่างไร คือ
  17. องค์ประกอบของทาน ที่ให้แล้วมีผลมาก (นัยที่ ๒)
  18. ธรรมทานเลิศกว่าอามิสทาน
  19. การให้ทานอันเป็นอริยะ (นัยที่ ๑)
  20. การให้ทานอันเป็นอริยะ (นัยที่ ๒)
  21. การให้ทานอันเป็นอริยะ (นัยที่ ๓)
   
  22. สิ่งที่ประเสริฐกว่าทาน
  23. เจริญเมตตาจิตมีผลมากกว่าให้ทาน
  24. การรับที่ไม่เป็นธรรม หรือการรับที่เป็นธรรม
  25. การวางจิตเมื่อให้ทาน
 
   
   


พุทธวจน ออนไลน์
90 90 90 90
พุทธประวัติ ขุมทรัพย์ อริยสัจ
ภาคต้น
อริยสัจ
ภาคปลาย
ปฏิจจ ปฐมธรรม ตถาคต อนาคามี อินทรีย์
สังวร
สัตว์
สัตตานัง
ทาน
สกทาคามี
ฆราวาส
ชั้นเลิศ
มรรควิธี
ที่ง่าย
อริยวินัย เดรัจฉานวิชา กรรม สมถะ
วิปัสสนา
โสดาบัน นา
ปานสติ
จิต มโน
วิญญาณ
ก้าวย่าง
อย่างพุทธะ
ตามรอย
ธรรม
ภพ ภูมิ
พุทธวจน
สาธยาย
ธรรม
สังโยชน์