เว็บไซต์ อนาคามี เผยแพร่ พุทธวจน คำสอนของพระศาสดา คำสอนตถาคต รวมพระสูตรสำคัญ อนาคามี เว็บไซต์เผยแพร่คำสอนของพระพุทธเจ้า
ค้นหาคำที่ต้องการ       

  ชุด (2) มีเรื่อง  
   1. ก่อนตรัสรู้  ๒๔ เรื่อง  6. ราคะโทสะโมหะ ๘ พระสูตร + จากหนังสือสกทาคามี
   2. หลังตรัสรู้ ๑๓ เรื่อง  7. ปฏิจจสมุปบาท  ๘๘ พระสูตร
   3. สัมมาวาจา ๑๓ พระสูตร  8. รูปไม่เที่ยงเป็นทุกข์ ๑๒ พระสูตร
   4. เทวดาเข้าเฝ้า ๓ พระสูตร  9. ธรรม ๑๐ อย่างมีอุปการะมาก
   5. วิชชา๘ (ญาณ ๘)  10. ผู้ไม่ประมาทในชีวิต ๑๙พระสูตร

  1) ก่อนตรัสรู้
751 751 ทรงตริตรึกเพื่อตรัสรู้ - ทรงเที่ยวแสวงเพื่อความตรัสรู้
  751-1 ทรงแน่พระทัยว่าไม่อาจตรัสรู้เพราะการทำทุกรกิริยา ทรงเห็นว่าไม่เป็นทางตรัสรู้ ก็ทรงเลิกเสีย
  751-2 ทรงระลึกสมัยงานแรกนา เรานั่ง ณ ร่มหว้า สงัดจากกามและอกุศล บรรลุปฐมฌาน ชะรอยนั่นจักเป็นหนทางห่งการตรัสรู้บ้าง
  751-3 ปัญจวัคคีย์หลีก หลังตถาคตกลืนกินอาหารหยาบ คือข้าวสุกและขนมสดว่าเป็นคนมักมาก
  751-4 ทรงตริตรึกเพื่อตรัสรู้ ว่า - อะไรหนอ เป็น รสอร่อยในโลก  อะไรเป็นโทษในโลก อะไรเป็น อุบายเครื่องออกไปจากโลก
  751-5 ทรงเที่ยวแสวงเพื่อความตรัสรู้ ซึ่งอนุตตรสัมมา สัมโพธิญาณ ก็แหละ ญาณทัศนะเครื่องรู้
752 752 ทรงคอยควบคุมวิตก ก่อนตรัสรู้(กามวิตก พยาปาท วิหิงสา)เราได้ละ-บรรเทา กามวิตก อันบังเกิดแล้วทําให้สิ้นสุดได้แล้ว
753 753 ทรงกำหนดสมาธินิมิต ก่อนตรัสรู้ แสงและรูปที่เห็นเกิดขึ้นและหายไปเรา.. เมื่อครั้งยังเป็นโพธิสัตว์ก็จําแสงและการเห็นรูป
754 754 ทรงกั้นจิตจากกามคุณในอดีต เมื่อเรายังเป็นโพธิสัตว์ ความรู้สึกเกิดขึ้นว่า กามคุณห้าที่เป็นอดีต เคยสัมผัสมาแล้วได้ดับไป
  754-1 ทรงกั้นจิตกามคุณในอดีต ...ความไม่ประมาทและสติ เป็นสิ่งซึ่งเราหวังประโยชน์แก่ตนเอง พึงกระทําให้เป็นเครื่องป้องกันจิต
  754-2 ทรงค้นวิธีแห่งอิทธิบาท..อิทธิบาทอันประกอบพร้อมด้วยเครื่องปรุงแต่งมีสมาธิอาศัย ฉันทะ เป็นปธานกิจว่าด้วยอาการอย่างนี้
  754-3 ทรงคิดค้นเรื่องเบญจขันธ์ ความสงสัยได้เกิดขึ้นแก่เราว่า อะไรหนอเป็นรสอร่อยของรูป.. โทษของรูป.. อุบายเครื่องพ้นไปได้
755 755 ทรงคิดค้นเรื่องเวทนาโดยละเอียด / ทรงแสวงเนื่องด้วยเบญจขันธ์/ทรงค้นลูกโซ่แห่งทุกข์
  755-1 ทรงคิดค้นเรื่องเวทนาโดยละเอียด ก่อนตรัสรู้
  755-2 ทรงแสวงเนื่องด้วยเบญจขันธ์ ก่อนตรัสรู้
  755-3 ทรงค้นลูกโซ่แห่งทุกข์ ก่อนตรัสรู้
  755-4 ทรงค้นลูกโซ่แห่งทุกข์ ก่อนตรัสรู้ (อีกนัยหนึ่ง)
756 756 ทรงพยายามในอธิเทวญาณทัศนะเป็นขั้นๆ / ทรงทำลายความขลาด /ธรรมที่ทรงอบรมอย่างมาก ก่อนตรัสรู้
  756-1 ทรงพยายามใน อธิเทวญาณทัศนะ เป็นขั้นๆ ก่อนตรัสรู้
  756-2 ทรงทำลายความขลาด ก่อนตรัสรู้
  756-3 ธรรมที่ทรงอบรมอย่างมาก ก่อนตรัสรู้
757 757 วิหารธรรมที่ทรงอยู่มากที่สุด ก่อนตรัสรู้ ยังไม่ได้ตรัสรู้ ยังเป็นโพธิสัตว์อยู่ ย่อมอยู่ด้วยวิหารธรรม คือ อานาปานสติสมาธิ
758 758 ทรงพยายามในเนกขมัมจิต และอนุปุพพวิหารสมาบัติ ก่อนตรัสรู้
759 759 ทรงอธิษฐานความเพียร ก่อนตรัสรู้ / ความฝันครั้งสำคัญ ก่อนตรัสรู้
  759-1 ทรงอธิษฐานความเพียร ก่อนตรัสรู้
  759-2 ความฝันครั้งสำคัญ ๕ อย่าง ก่อนตรัสรู้ ปฐพีเป็นที่นอนของตถาคต เขาหิมวันต์เป็นหมอน หญ้าคางอกขึ้นจากสะดือจดฟ้า..
760 760 อาการแห่งการตรัสรู้ บรรลุ ฌาน 1 2 3 4 จากนั้นบรรลุวิชชา 3 ได้แก่ บุพเพนิวาสานุสสติญาณ จุตูปปาตญาณ .อาสวักขยญาณ
 
  2) หลังตรัสรู้
761 761 สิ่งที่ตรัสรู้ สุดโต่ง ...ทางสายกลางอันประเสริฐคือองค์ 8 ความจริงอันประเสริฐ เรื่องความทุกข์ ความเกิด แก่ เจ็บ ตาย
762 762 การตรัสรู้คือการทับรอยแห่งพระพุทธเจ้าในอดีต เปรียบเหมือนบุรุษเที่ยวไปในป่าทึบ พบรอยทางซึ่งเคยเป็นหนทางเก่า
763 763 การตรัสรู้คือการ ทรงรู้แจ้งผัสสายตนะโดยอาการห้า / เกิดแสงสว่าง / แผ่นดินไหว เนื่องด้วยการตรัสรู้
764 764 การรู้สึกพระองค์ว่าได้ตรัสรู้แล้ว/วิหารธรรมที่ทรงอยู่ เมื่อตรัสรู้แล้วใหม่ๆ
  764-1 รู้สึกพระองค์ว่าได้ตรัสรู้แล้วความหลุดพ้นของเราไม่กลับกำเริบ การเกิดครั้งนี้เป็นครั้งสุดท้าย ภพใหม่มิได้มีอีก
  764-2 วิหารธรรมที่ทรงอยู่ เมื่อตรัสรู้แล้วใหม่ๆ
765 765 ทรงเป็นลูกไก่ตัวพี่ที่สุด / ทรงเป็นผู้ข่มอินทรีย์ได้
  765-1 ทรงเป็นลูกไก่ตัวพี่ที่สุด..เราทําลายเปลือกห่อหุ้ม คืออวิชชาออกมาได้ก่อนใครๆ เป็นบุคคลแต่ผู้เดียวในโลกที่รู้พร้อมเฉพาะ
 

765-2 ทรงเป็นผู้ข่มอินทรีย์ได้...จักขุเป็นสิ่งซึ่งมีรูปเป็นที่ยินดี อันรูปทําให้บันเทิงพร้อมแล้ว ตถาคตควบคุม รักษาไว้ได้แล้ว

766 766 ทรงมีตถาคตพลญาณสิบอย่าง / ทรงมีตถาคตพลห้าอย่าง
  766-1 ทรงมีตถาคตพลญาณ สิบอย่าง คือ รู้ฐานะและอฐานะ รู้วิบาก รู้ปฏิปทา รู้เรื่องธาตุ รู้อธิมุตติ รู้ความยิ่ง-หย่อน รู้ขันธ์อดีต
  766-2 ทรงมีตถาคตพล ห้าอย่าง สัทธาพละ หิริ โอตตัปป วิริย ป๎ญญา ที่ตถาคต ปฏิญญาตําแหน่งจอมโลก บันลือสีหนาท
767 767 ทรงทราบอินทรีย์ของสัตว์ ของบุคคล4 จำพวก แม้หยดน้ำลงกะทะร้อน ให้หายไปอย่างรวดเร็ว ก็ถือว่ายังมีอุปธิ
768 768 ทรงมีและทรงแสดงยถาภูตญาณ ที่ทำให้แจ้งอธิมุตติบท /ทรงมีเวสารัชชญาณสี่อย่าง
  768-1 ทรงมีและทรงแสดง ยถาภูตญาณ ที่ทำให้แจ้งอธิมุตติบท ญาณอื่นที่ยิ่งกว่าประณีตกว่า ญาณนั้น ย่อมไม่มี
  768-2 ทรงมี เวสารัชชญาณสี่อย่าง ตถาคตประกอบ พร้อมแล้ว ปฏิญญาตำแหน่ง จอมโลก บันลือสีหนาทประกาศพรหมจักร
769 769 ทรงประกาศพรหมจักร ท่ามกลางบริษัท ได้แก่ทรงประกาศ... 1.ขันธ์5 2.กฎอิทัป 3.ปฏิจจ สายเกิด 4.ปฏิจจ สายดับ)
 
  3) หมวด สัมมาวาจา
810 อุทเทศแห่งสัมมาวาจา (เท็จ ส่อเสียด หยาบ เพ้อเจ้อ)และหลักวิธีการพูดที่เป็น อริยะ(ไม่เห็นว่าไม่เห็น) และ อนริยะ (คนพาล)
811 สัมมาวาจาโดยปริยายสองอย่าง แบบโลกิยะ(อาสวะ)เป็นส่วนแห่งบุญ มีอปุทิเป็นวิบาก และโลกุตตระ(ไม่มีอาสวะ) เป็นมรรค๘
812 สัมมาวาจา วจีกรรม ๓ สถาน ๑ เมื่อจะกระทำ(ไม่พึงกระทำ) ๒ เมื่อกระทำอยู่(เลิกกระทำ) ๓ กระทำแล้ว(พึงสังวระวังครั้งต่อไป)
813 สัมมาวาจา ข้อควรสรรเสริญหรือควรติเตียนของบุคคล 4จำพวก ติแต่ไม่สรรเสริญ สรรเสริญและไม่ติ ไม่ติไม่สรรเสริญ ติและสรรเสริญ
814 สัมมาวาจา ไขความลับสัมมาวาจา4 ละมุสาวาท(พูดเท็จ)ละคำส่อเสียด หยาบ ไม่เสนาะหู เพ้อเจ้อ ไม่มีที่อ้างอิงไม่มีหลักฐาน
815 สัมมาวาจา สุภาษิตวาจา ๕ ประการ 1.ควรแก่กาล 2.คำสัจจ์จริง 3. อ่อนหวาน 4.ประกอบด้วยประโยชน์ ด้วยเมตตาจิต
816 สัมมาวาจา วาจาของ สัตบุรุษ - อสัตบุรุษ และ วาจาสะใภ้ใหม่- สะใภ้เก่า
817 สัมมาวาจา สัมมาวาจาขั้นสูงสุด วาจาใด จริง แท้ ด้วยประโยชน์ พึงใจของผู้อื่น ตถาคตย่อมเป็นผู้รู้จักกาละ เพื่อกล่าววาจานั้น
818 สัมมาวาจา สัมมาวาจาชั้นสูงสุด (ระดับพระพุทธเจ้า) ไม่ทะเลาะวิวาทกับใครๆในโลก พร้อมทั้ง เทวโลก มารโลก พรหมโลก
819 สัมผัปปลาวาท(เพ้อเจ้อ) ระดับพราหมณ์-ฤาษี ที่อ้างว่าทางปฏิบัติของตนไปเป็นสหายพรหมได้ แต่ทุกคนกลับไม่เคยเห็นพรหม
820 วิบากแห่งมิจฉาวาจา ย่อมเป็นไปเพื่อนรก กำเนิดดิรัจฉาน เปรตวิสัย โทษมุสาวาท อย่างเบาของมนุษย์ คือถูกกล่าวตู่ด้วยคำไม่จริง
 
  4) เทวดาเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า (เทวตาสังยุต)
833 เทวดา เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า ถามข้อธรรมต่างๆ พระองค์ข้ามโอฆะได้อย่างไร .. เราไม่พักอยู่ ไม่เพียรอยู่ ข้ามโอฆะได้แล้ว
834 เทวดา กล่าวถวายพระคาถาฯ เทวดาเปล่งอุทาน บุคคลควรสมาคมกับพวกสัตบุรุษ ควรทำความสนิทสนม กับพวกสัตบุรุษ
835 เทวดา ชั้นพรหม ฆฏิกร สนทนากับพระผู้มีพระภาค
 
850 5) วิชชา ๘ (ญาณ ๘) ความรู้ที่ทำให้รู้จักการหลุดพ้น การดับทุกข์
  (๑) วิปัสสนาญาณ (ญาณที่เกิดจากวิปัสสนา เช่นเห็นการเกิดดับ)
  (๒) มโนมยิทธิญาณ (ฤทธิ์ทางใจ)
  (๓) อิทธิวิธญาณ (มีฤทธิ์ เช่นเดินบนน้ำ)
  (๔) ทิพยโสตญาณ (หูทิพย์ ได้ยินเสียงมนุษย์และเทวดา)
  (๕) เจโตปริยญาณ (รู้ใจคนอื่น รู้ความคิด)
  (๖) ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ (ระลึกชาติในอดีตได้หลายชาติ)
  (๗) จุตูปปาตญาณ (ตาทิพย์ รู้เหตุการเกิด การตายของสัตว์)
  (๘) อาสวักขยญาณ (ญาณที่ทำให้จิตหลุดพ้น)
 
865 6) รวมพระสูตร ราคะ โทสะ โมหะ
  865_1 ทุพพิโนทยสูตร ธรรม ๕ ประการนี้ เกิดขึ้นแล้วบรรเทาได้ยาก ๑ ราคะ๒ โทสะ๓ โมหะ ๔ ปฏิภาณ ๕ จิตคิดไปเอง
  865-2 ไฟ ๗ อย่างเหล่านี้มีอยู่ ไฟคือราคะ ไฟคือโทสะ ไฟคือโมหะ คืออาหุไนยะ คือคหบดี คือทักขิไณยะ ไฟที่เกิดจากไม้
  865-3 จัณฑสูตร บางคนยังละราคะไม่ได้ ผู้ยังละราคะไม่ได้ คนอื่นจึงยั่วให้โกรธ ย่อมแสดงความโกรธ ผู้นั้นจึงนับว่าเป็นคนดุ
  865-4 ตาลปุตตสูตร คามิณิ ถามอาชีพนักเต้นรำ ทำให้คนหัวเราะ ด้วยคำจริงบ้างเท็จบ้าง เมื่อตายไป เข้าถึงสหายเทวดาหรือ
  865-5 ติตถิยสูตร ถ้าพวกเดียรถีย์ปริพาชกจะถามว่า ผู้มีอายุทั้งหลาย ธรรม ๓ อย่างนี้ ๓ อย่างเป็นไฉน คือ ราคะ โทสะ โมหะ
  865-6 ธรรม ๓ อย่าง เพื่อละราคะ โทสะ โมหะ เจริญอสุภะ เพื่อละราคะ เจริญเมตตา เพื่อละโทสะ เจริญปัญญา เพื่อละโมหะ
  865-7 เห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเป็นของน่าเบื่อหน่าย เพื่อละ ราคะ โทสะ โมหะ
  865-8 ทุกแง่มุมที่เกี่ยวกับ อกุศลมูล อกุศลมูล ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่ โลภะ โทสะ เป็น โมหะ เป็น อกุศลมูล
  ราคะ โทสะ โมหะ จากหนังสือ สกทาคามี
  (40) ธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว บรรเทาได้ยาก (ราคะ โทสะ โมหะ...)
  (41) ไฟ คือ ราคะ โทสะ โมหะ
  (42) เหตุให้เป็นคนดุร้ายหรือคนสงบเสงี่ยม
  (43) อาชีพที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ ราคะ โทสะ โมหะ
  (44) ความแตกต่างของ ราคะ โทสะ โมหะ และวิธีละราคะ โทสะ โมหะ
  (45) เจริญอสุภะเพื่อละราคะ เจริญเมตตาเพื่อละโทสะ เจริญปัญญา เพื่อละโมหะ
  (46) เจริญอนุสสติ เพื่อละราคะ โทสะ โมหะ
  (47) ศึกษาในสิกขา ๓ เพื่อละ ราคะ โทสะ โมหะ
  (48) การละธรรม ๓ เพื่อละราคะ โทสะ โมหะ
  (49) เห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเป็นของน่าเบื่อหน่าย เพื่อละ ราคะ โทสะ โมหะ
  (50) เพราะมีความสิ้นไปแห่งนันทิ จึงมีความสิ้นไปแห่งราคะ
   
 
  7) ปฏิจจสมุปบาท
873 ปฏิจจสมุปบาท ชุด 1 .. รวม 24 พระสูตร
874 ปฏิจจสมุปบาท ชุด 2 .. รวม 17 พระสูตร
875 ปฏิจจสมุปบาท ชุด 3 .. รวม 13 พระสูตร
876 ปฏิจจสมุปบาท ชุด 4 .. รวม 16 พระสูตร
877 ปฏิจจสมุปบาท ชุด 5 .. รวม 18 พระสูตร
 
887 8) รวม 12 พระสูตร : รูปไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา นั้นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่ใช่เป็นเรา ไม่ใช่ตัวตนของเรา
888 อลคัททูปมสูตร (1) ว่าด้วยข้ออุปมาด้วยอสรพิษ.. อริฏฐภิกษ กล่าวตู่พระพุทธเจ้าว่า ธรรมที่พระองค์ตรัสสอนเป็นอันตราย
889 อลคัททูปมสูตร (2) อริฏฐภิกษุค้านพระธรรมเทศนา ภิกษุเหล่านั้น เข้าไปเฝ้าฯเพื่อกราบทูลว่า อริฏฐภิกษุ ค้านพระธรรม
890 อลคัททูปมสูตร (3) ทรงติเตียนอริฏฐภิกษุ ...เธอจะประสพบาปมิใช่บุญเป็นอันมาก ด้วยทิฏฐิลามก กรรมนั้นแลจักมีแก่เธอ
891 อลคัททูปมสูตร (4) บุรุษเปล่าเรียนธรรม บุรุษเปล่าเหล่านั้น เล่าเรียนธรรมแล้ว ไม่ไตร่ตรองเนื้อความแห่งธรรมด้วยปัญญา
892 อลคัททูปมสูตร (5) กุลบุตรเรียนธรรม กุลบุตร เล่าเรียนธรรม ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์ เพื่อความสุข สิ้นกาลนาน
893 อลคัททูปมสูตร (6) ธรรมเปรียบเหมือนแพ เราแสดงธรรมมีอุปมาด้วยแพ เพื่อต้องการสลัดออก ไม่ใช่เพื่อต้องการยึดถือ
894 อลคัททูปมสูตร (7) เหตุแห่งทิฏฐิ ๖ ผู้ไม่ได้สดับ ไม่เห็นพระอริยะ.. ย่อมเห็นรูปว่า นั่นของเรา เราเป็นนั่น นั่นเป็นอัตตาของเรา
895 อลคัททูปมสูตร (8) ความสะดุ้ง ๒ เมื่อความพินาศแห่งบริขาร(ของใช้ภิกษุ)ในภายนอก ไม่มีความสะดุ้งพึงมีได้ หรือหนอ
896 อลคัททูปมสูตร (9) พาลธรรม เธอพึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ... นั่นไม่ใช่ของเรา เราไม่เป็นนั่น นั่นไม่ใช่อัตตาของเรา
897 อลคัททูปมสูตร (10) สมัญญาผู้หมดกิเลส พระอริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่ายทั้งในรูป เวทนา สัญญา ..
898 อลคัททูปมสูตร (11) การวางใจเป็นกลางในลาภสักการะ สิ่งใดไม่ใช่ของเธอ เธอจงละสิ่งนั้นเสีย รูป เวทนา.. ไม่ใช่ของเธอ
899 อลคัททูปมสูตร (12) ผลแห่งการละกิเลส เป็นอรหันต์ เป็นอนาคามี เป็นสกทา โสดาบัน เป็นสัทธา- ธัมมา เป็นเทวดา

  9) ธรรม ๑๐ อย่าง มีอุปการะมาก (แสดงธรรมโดยพระสารีบุตร)
1131 ธรรมอย่างหนึ่งมีอุปการะมาก
1132 ธรรม ๒ อย่าง มีอุปการะมาก
1133 ธรรม ๓ อย่าง มีอุปการะมาก
1134 ธรรม ๔ อย่าง มีอุปการะมาก
1135 ธรรม ๕ อย่าง มีอุปการะมาก
1136 ธรรม ๖ อย่าง มีอุปการะมาก
1137 ธรรม ๗ อย่าง มีอุปการะมาก
1138 ธรรม ๘ อย่าง มีอุปการะมาก
1139 ธรรม ๙ อย่าง มีอุปการะมาก
1140 ธรรม ๑๐ อย่าง มีอุปการะมาก
 
  10) ผู้ไม่ประมาทในชีวิต (หลายพระสูตร)
1107 1 วันคืนล่วงไปๆ บัดนี้เราทำอะไรอยู่
  2 สังขารมีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา จงยังความไม่ประมาทเถิด
  3 เป็นผู้มีปกติ อยู่ด้วยความไม่ประมาท เป็นอย่างไร
  4 กุศลธรรมทั้งหลาย มีความไม่ประมาทเป็นมูล
  5 บุคคลผู้ไม่ประมาท ย่อมทำให้กุศลธรรมที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขี้น
  6 ผู้ยินดีในความไม่ประมาท ชื่อว่าประพฤติใกล้นิพพานทีเดียว
  7 จงเป็นผู้ไม่ประมาท มีสติ ศีล มีความดำริอันตั้งไว้ด้วยดี
  8 ผู้อยู่ด้วยปกติ ไม่ประมาท จิตไม่เกลือกกลั้วในอายตนะทั้ง๖
  9 ควรทำความไม่ประมาทโดยฐานะ ๔ ประการ (อัปปมาทสูตร)
  10 ผู้สำรวมอินทรีย์ ย่อมชื่อว่าเป็นผู้ไม่ประมาท
  11 ผู้คุมครองทวารอินทรีย์ คือผู้ไม่ประมาท
  12 พึงกระทำความไม่ประมาท คือ มีสติ (อารักขสูตร)
  13 ความไม่ประมาท คือธรรมที่เจริญแล้วได้ประโยชน์ทั้งปัจจุบันและสัมปรายภพ
  14 คาถาธรรมบท ๑๗ ข้อ ในความไม่ประมาท
  15 ความตายรออยู่เบื้องหน้า อย่าพึงประมาท
  16 ความไม่ประมาทเลิศกว่ากุศลธรรม
  17 กุศลธรรมทั้งปวงมีความไม่ประมาทเป็นมูล
  18 ไม่ควรคำนึงถึงอดีตและอนาคต ให้เอาจิตอยู่กับปัจจุบัน
 

19 อริยสาวกผู้เป็นผู้อยู่ด้วยความไม่ประมาทอย่างไร

   
 
   
   


พุทธวจน : อ่านคำสอนพระศาสดา อ่านแบบสบายตา โดยคัดลอกหนังสือทั้งเล่มมาจัดทำเป็นเว็บเพจ (คลิกอ่านพร้อมดาวน์โหลดไฟล์ pdf)
90 90 90 90
พุทธประวัติ ขุมทรัพย์ อริยสัจ
ภาคต้น
อริยสัจ
ภาคปลาย
ปฏิจจ ปฐมธรรม ตถาคต อนาคามี อินทรีย์
สังวร
สัตว์
สัตตานัง
ทาน
สกทาคามี
ฆราวาส
ชั้นเลิศ
มรรควิธี
ที่ง่าย
อริยวินัย เดรัจฉานวิชา กรรม สมถะ
วิปัสสนา
โสดาบัน นา
ปานสติ
จิต มโน
วิญญาณ
ก้าวย่าง
อย่างพุทธะ
ตามรอย
ธรรม
ภพ ภูมิ
พุทธวจน
สาธยาย
ธรรม
สังโยชน์