เว็บไซต์ อนาคามี เผยแพร่คำพระศาสดา เผยแพร่คำสอนตถาคต เว็บไซต์เผยแพร่พระสุตรคำสอนของพระพุทธเจ้า คลิปคำสอน คลิปสาธยายธรรม
  ประวัติบุคคล และสถานที่สำคัญๆ ในสมัยพุทธกาล
ค้นหาคำที่ต้องการ    

 
คลิก

คลิก
 
เนื้อหาประวัติบุคคลสำคัญต่างๆในหน้านี้ทั้งหมดนำมาจาก วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
และข้อมูลในวิกิพีเดีย ก็นำมาจาก อรรถกถา หรือคำแต่งใหม่ ที่มีการแต่งเติมภายหลัง
เป็นชุดข้อมูลภายหลังพระพุทธเจ้าปรินิพพานล่วงไปแล้ว ซึ่งไม่ใช่ข้อมูลจริงที่ออกจากพระโอษฐ์ของพระพุทธเจ้า

ประวัติบุคคลทั้งหมดในหน้านี้ จึงมีทั้งคำกล่าวของพระศาสดา และ คำแต่งใหม่
  บุคคลผู้เป็น เอตทัคคะ (บางส่วน)
100 ผู้ที่เป็นเอตทัคคะ ผู้ยอดเยี่ยมในทางใดทางหนึ่งเป็นพิเศษ ที่พระพุทธเจ้าทรงแต่งตั้ง
101 หมอชีวกโกมารภัจจ์ (แพทย์ประจำพระพุทธเจ้า)
102 พระเจ้าพิมพิสาร (พระสหายกับพระโคตมพุทธเจ้า สมัยที่ยังเป็นพระกุมาร)
103 พระเจ้าอชาตศัตรู (ผู้ที่จับพระบิดาหรือพระเจ้าพิมพิมพิสาร จองจำในคุก)
104 พระเทวทัต (เป็นลูกพี่ลูกน้องของพระพุทธเจ้า และเป็นผู้ที่ลอบปลงพระชนม์)
105 พระเจ้าสุทโธทนะ พระบิดาของ พระโคตมพุทธเจ้า
106 พระนางสิริมหามายา พระมารดาของพระโคตมพุทธเจ้า
107 พระนางมหาปชาบดีโคตมี (พระมหาปชาบดีโคตรมีเถรี) (ภิกษุณี รูปแรกในพระพุทธศาสนา)
108 อนาถบิณฑิกเศรษฐี ผู้สร้างวัดเชตวันมหาวิหาร ถวายพระพุทธเจ้า ผู้ศรัทธาพระพุทธเจ้า ผู้ใจบุญแก่คนยากจน
109 พระมหาโมคคัลลานะ อัครสาวกเบื้องซ้ายผู้มีฤทธิ์ บั้นปลายชีวิต ถูกพวกโจรทุบตีจนกระดูกแตกแหลกเหลว
110 พระสารีบุตร อัครสาวกเบื้องขวา ผู้มีปัญญาเป็นเลิศ
112 ภารทวาชเถระอรหันต์ผู้เหาะไปในอากาศเพื่อปลดบาตรของเศรษฐี
114 นางวิสาขาสาวกพระพุทธเจ้า บรรลุโสดาบันเมื่ออายุ 7 ขวบ เป็นผู้สร้างวัดบุพพาราม เป็นเอตทัคคะฝ่ายทายิกา
115 พระภัททากัจจานาเถรี (พระนางยโสธรา หรือ พระนางพิมพา) พระชายาเจ้าชายสิทธถัตถะ
116 พระอานนท์ เป็นเอตทัคคะผู้เลิศ 5 ประการ ผู้มีบทบาทสำคัญใน สังคายนาพุทธศาสนา
117 พระอุบาลี เอตทัคคะผู้เลิศในทางผู้ทรงพระวินัย เป็นผู้ทรงจำพระวินัยอย่างแม่นยำ เป็นผู้วิสัชชนาพระวินัยปิฎ
118 พระอัญญาโกณฑัญญเถระ พระสงฆ์รูปแรกในพุทธศาสนา เป็นเอตทัคคะฝ่ายรัตตัญญู-ผู้รู้ราตรีนาน
119 พระอุรุเวลกัสสปะ (พวกชฎิล 3 พี่น้อง) ผู้เป็นเอตทัคคะในด้านผู้มีบริวารมาก
120 พระอนุรุทธเถระ เป็นพระเอตทัคคะผู้เลิศทางทิพยจักษุยาณ (ตาทิพย์) ได้ร่วมทำปฐมสังคายนากัลป์คณะสงฆ์
121 พระเจ้ามหานามะ ครองกรุงกบิลพัสดุ์ ต่อจากพระเจ้าสุทโธทนะ เอตทัคคะผู้ถวายทานอันประณีต
122 นางสุชาดา ผู้ถวายข้าวมธุปายาส พร้อมถาดทองคำแก่พระโคตมพุทธเจ้า เป็นเอตทัคคะ ผู้ถึงสรณะก่อน
123 พระราธเถระ ท่านเป็นเลิศกว่าภิกษุทั้งหลายในด้าน ผู้มีปฏิภาณ คือมีญาณแจ่มแจ้งในพระธรรมเทศนา
124 พระกุมารกัสสปเถระ มีนามเดิมว่า กัสสปะ เอตทัคคะ ในด้านใช้ถ้อยคำอันวิจิตร (กล่าวถ้อยคำที่ไพเราะ)
125 พระมหากัสสปะ พระอรหันต์ เอตทัคคะ แบบอย่างในด้านผู้ทรงธุดงค์ เป็นประธานปฐมสังคายนา
126 พระภัททิยกาฬิโคธาบุตร หรือ พระภัททิยะ เอตทัคคะผู้เกิดในสกุลสูง (เพราะทรงสละราชสมบัติออกผนวช)
127 พระลกุณฏกภัททิยเถระ เอตทัคคะ ด้านผู้มีเสียงไพเราะ
128 พระปุณณมันตานีบุตร เอตทัคคะ ผู้เป็นธรรมกถึก (นักเทศน์)
129 พระมหากัจจายนะ เอตทัคคะในทางผู้อธิบายความย่อให้พิสดาร
130 พระจูฬปันถกเถระ (พระจุลลปันถกะ)ได้รับยกย่องเป็นเอตทัคคะ ผู้ชำนาญในมโนมยิทธ(ฤทธิ์ทางใจ)
131 พระมหาปันถกเถระ เอตทัคคะในทางผู้เจริญวิปัสสนา
132 พระวักกลิ พระอรหันต์สาวก ทรงยกย่องท่านเป็น เอตทัคคะในฝ่ายสัทธาธิมุต (ผู้พ้นจากกิเลสได้ด้วยศรัทธา)
133 พระสีวลี เอตทัคคะผู้เลิศในทาง ผู้มีลาภมาก
134 พระโสณกุฎิกัณณเถระ เอตทัคคะในทางผู้มีวาจาไพเราะ ผู้แสดงธรรมด้วยถ้อยคำไพเราะ
135 พระโสณโกฬิวิสเถระ เอตทัคคะในทางผู้ปรารภความเพียร
136 พระกังขาเรวตเถระ เอตทัคคะในทางผู้เพ่งด้วยฌาณ
137 พระเรวตขทิรวนิยเถระ เอตทัคคะในทางผู้อยู่ป่า
138 พระสุภูติเถระ เอตทัคคะในทางอรณวิหารและทักขิเณยยบุคคล
139 พระมหาโกฏฐิตเถระ เอตทัคคะในทางผู้แตกฉานในปฏิสัมภิทา ๔
140 พระพาหิยเถระ เอตทัคคะในทางขิปปาภิญญา
142 พระนันทะ ผู้เลิศในอินทรีย์สังวร (สำรวม)
143 พระราหุล เป็นเอตทัคคะ ผู้ใคร่ต่อการศึกษา... โอรสในเจ้าชายสิทธัตถะ กับพระนางยโสธรา
144 พระปัจเจกพุทธเจ้า จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
145 พระเจ้ามหานามะ เอตทัคคะในฝ่ายผู้ถวายทานมีรสอันประณีต
146 พระมหากัปปินะ ผู้เป็นเลิศด้านผู้กล่าวสอนภิกษุ -ให้โอวาทแก่ภิกษุบริษัท
147 พระนันทะ เอตทัคคะ ผู้เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายในด้าน ผู้ทรงอินทรีย์สังวร
148 พระยโสธราเถรี (พระชายาเจ้าชายสิทธัตถะ)
   
  บุคคลอื่น ผู้มีบทบาทสำคัญในสมัยพุทธกาล และในกาลต่อมา
   
105 พระเจ้าสุทโธทนะ (พระมหากษัตริย์แคว้นสักกะ นครหลวงคือกรุงกบิลพัสดุ์ เป็นพุทธบิดาของ พระโคตมพุทธเจ้า)
106 พระนางสิริมหามายา (เป็นพระมารดาของพระโคตมพุทธเจ้า พระศาสดาแห่งศาสนาพุทธ)
102 พระเจ้าพิมพิสาร (พระสหายกับพระโคตมพุทธเจ้าสมัยที่ยังเป็นพระกุมาร)
103 พระเจ้าอชาตศัตรู (ผู้ที่จับพระบิดาหรือพระเจ้าพิมพิสาร จองจำในคุก)
104 พระเทวทัต (เป็นลูกพี่ลูกน้องของพระพุทธเจ้า และเป็นผู้ที่ลอบปลงพระชนม์ด้วยการทุ่มก้อนหินลงมจากหน้าผา)
111 นิครนถ์ - นิครนถ์นาฏบุตร หรือศาสดามหาวีระ (Mahavira)
113 ชฎิล ๓ พี่น้อง ที่พระผู้มีพระภาคแสดงฤทธิ์จนปราบพญานาคได้ ทำให้ชฎิลพร้อมสาวก1000 ตัดสินใจขอบวช
   
   

 
สถานที่สำคัญทางพุทธศาสนา ในสมัยพุทธกาล และปัจจุบัน
  พุทธสังเวชนียสถาน ๔ ตำบล
201 ลุมพินีวัน (สังเวชนียสถานที่สำคัญของชาวพุทธ เป็นสถานที่ประสูติของเจ้าชายสิทธัตถะ)
202

พุทธคยา (สถานที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า)

203 สารนาถ (ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน สถานที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา เริ่มต้นประกาศพระพุทธศาสนา)
204 กุสินารา (ตั้งของป่าไม้สาละที่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพาน และเป็นสถานที่ถวายพระเพลิงพระพุทธเจ้า)
   
  เมืองสำคัญในสมัยพุทธกาล
205 กรุงราชคฤห์ (เมืองหลักทางพระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้าเสด็จไปโปรดพระเจ้าพิมพิสาร สังคายนาพุทธศาสนาครั้งที่1)
206 กรุงกบิลพัสดุ์ (เมืองหลวงของแคว้นสักกะ เมืองของพระเจ้าสุทโธทนะ พระบิดาเจ้าชายสิทธัตถะ)
207

กรุงพาราณสี (เมืองหลวงของแคว้นกาสี สถานที่แสดงปฐมเทศนาแก่ปัจจวัคคีย์)

208 นาลันทา (เมืองนี้มีสวนมะม่วง ชื่อ ปาวาริกัมพวัน  ซึ่งพระพุทธเจ้าเสด็จมาประทับแรมหลายครั้ง)
209

เวสาลี (เมืองหลวงของคณะเจ้าลิจฉวี ที่มีปกครองแคว้นวัชชี ด้วยระบอบคณาธิปไตยแห่งแรกๆของโลก)

210 สาวัตถี (เมืองหลวงของแคว้นโกศล เป็นเมืองค้าขาย และเป็นเมืองแห่งอำนาจคู่กับ เมืองราชคฤห์)
211 สังกัสสะ (เมืองที่พระองค์เสด็จลงจากดาวดึงส์เทวโลก หลังจากเสด็จขึ้นไปแสดงธรรมเพื่อโปรดพระมารดา)
212 คยา (เมืองที่พระพุทธองค์ทรงแสดง อาทิตตปริยายสูตร เพื่อโปรดแก่เหล่าชฏิล 1,003 รูป)
213 ปาฏลีบุตร (เมืองจักรพรรดิผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดของอินเดีย คือพระเจ้าอโศกมหาราช ผู้อุปถัมภ์พระพุทธศาสนา)
214 โกสัมพี (เมืองค้าขายในสมัยโบราณ พระพุทธเจ้าเสด็จมาประทับหลายครั้ง มีวัตถุโบราณเช่นบาตรดิน)
215 เทวทหะ (ชนบทในสมัยพุทธกาล เป็นที่ประสูติของพระนางสิริมหามายา พระราชมารดาเจ้าชายสิทธัตถะ )
216 ปาวา (พระพุทธเจ้าเคยเสด็จผ่านไปยังกุสินารา เพื่อปรินิพพาน และทรงแวะพักที่ป่ามะม่วงของนายจุนทะ)
217 เกสเรียสถูป (สถูปที่ใหญ่ที่สุดในอินเดียเป็นที่ประดิษฐานบาตรของพระพุทธองค์ที่ทรงประทานแก่ชาววัชชีเมืองไวสาลี)
 
  เรื่องสำคัญอื่นๆ
302 สังคายนาครั้งที่หนึ่งในศาสนาพุทธ ณ ถ้ำสัตตบรรณคูหา หลังพระพุทธเจ้าปรินิพพาน 3 เดือนโดยพระอรหันต์ 500 รูป
301 การสังคายนาพุทธศาสนา (มีความไม่ลงรอยกันเรื่องมีการชำระอรรถกถาที่ศรีลังกา เป็นสาเหตุทำให้แตกเป็นนิกาย)
141 พระพุทธโฆสะ พระพุทธโฆษาจารย์ อรรถกถาจารย์ ช่วงพุทธศตวรรษที่ 10 เป็นผู้แต่งคัมภีร์ วิสุทธิมรรค
303 อภิธรรมปิฏก สันนิษฐานว่าเป็นของแต่งขึ้นใหม่..สำนวนภาษาต่างจากศาสดา บัญญัติไม่ตรงพระธรรมวินัย
304 รรถกถา เป็นคัมภีร์ที่อธิบายความพระไตรปิฎก เริ่มสมัยสังคายนาครั้งที่ 3 พระเจ้าอโศกมหาราช พ.ศ. 236
305 มหานิกาย คณะของพระสงฆ์ไทยสายเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์
306 ธรรมยุติกนิกาย คณะธรรมยุต เป็นคณะสงฆ์ที่พระวชิรญาณเถระ (ร.๔) ทรงตั้งขึ้นเพื่อฟื้นฟู ศาสนาพุทธ ในสยาม