เว็บไซต์ อนาคามี เผยแพร่ พุทธวจน คำสอนของพระศาสดา คำสอนตถาคต รวมพระสูตรสำคัญ อนาคามี เว็บไซต์เผยแพร่คำสอนของพระพุทธเจ้า
ค้นหาคำที่ต้องการ       

  ชุด (6) มีเรื่อง  
 

1) ว่าด้วยเรื่องกาม : กามคุณ โทษของกาม ๒๙ เรื่อง

6) อริยสัจสี่ ๗ รูปแบบ
  2) อุปมา-เรื่องกาม กามตัณหา มายาของกาม ๓๓ เรื่อง 7)
  3) วังคีสสังยุต : เรื่องพระวังคีสะ รวม ๑๑ พระสูตร 8)
  4) เรื่องพระมหาปชาบดีโคตรมีเถรี ภิกษุณีอรหันต์ องค์แรก 9)
  5) อริยสัจสี่ ๕ นัยยะ 10)

  1) ว่าด้วยเรื่องกาม : กามคุณ โทษของกาม
512 ๑)กามคุณ ๕ อย่าง.. รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส หาใช่กามไม่ ความกำหนัดไปตามอำนาจความตริตรึกนั่นแหละ คือกามของคน
31-P81 ๒) คุณของกาม-โทษของกาม(หนังสือสกทาทามี พุทธวจน กาม และ กามคุณ)
25-P62 ๓) โลก ในอริยวินัย คือ กามคุณ ๕ (หนังสือสกทาทามี พุทธวจน กาม และ กามคุณ)
27-P68 ๔) กามคุณ ๕ คือ เครื่องจองจำในอริยวินัย (หนังสือสกทาทามี พุทธวจน กาม และ กามคุณ)
213 ๕) กามทั้งหลาย อันบุคคลพึงรู้แจ้ง เป็นอย่างไรเล่า ? (ความตริตึกใน รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส คือกาม)
714 ๖) นิพเพธิกสูตร สังกัปปะราคะ คือกามของคนเรา
S3- 15 ๗) กาม-อารมณ์อันวิจิตรทั้งหลายในโลกนั้น หาใช่กามไม่ (ความกำหนัดไปตามอำนาจความติตรึก นั่นแหละคือกามของคนเรา...)
24-P60 ๘) ความหมายของ กาม และกามคุณ(หนังสือสกทาทามี พุทธวจน กาม และ กามคุณ)
214 ๙) คุณของกาม โทษของกาม ... จูฬทุกขักขันธสูตร ว่าด้วยกองทุกข์ ..
725 ๑๐) กาม (คุณ-โทษ) การถ่ายถอนออกจากกาม กำหนดรู้รูป รู้จักคุณ- โทษ-การถ่ายถอนซึ่งรูป.. กำหนดรู้เวทนา (มหาทุกขักขันธสูตร)
 
120 ๑๑) กามฉันทะ สคารวสูตร นิวรณ์เป็นปัจจัยให้มนต์ไม่แจ่มแจ้ง
129 ๑๒) อกุศลสังกัปปะ หรือ มิจฉาสังกัปปะ กามวิตก กามธาตุ กามสัญญา กามสังกัปปะ กามฉันทะ กามปริฬาหะ กามปริเยสนา
553 ๑๓) กามวิตก อกุศลวิตก กามวิตก-ความตริตรึกในกาม จึงเกิดกามธาตุ กามสัญญา กามสังกัปปะ กามฉันทะ กามปริฬาหะ
255 ๑๔) กาม-ความรู้เรื่องกาม (กามธาตุ กามคุณ กามวิตก กามภพ กามฉันทะ กามสัญญา กามสังกัปปะ)
209 ๑๕) กามวิตก (ตริตรึกในกาม)แบบตาราง กามวิตก-เนกขัมมวิตก/กามสังกัปปะ-เนกขัมมสัง/กามสัญญา-เนกขัมม/กามธาตุ-เนกขัมม
554 ๑๖) กามวิตก เนกขัมมวิตก/กามสังกัปปะ เนกขัมมสัง/กามสัญญา เนกขัมม/กามธาตุ เนกขัมมธาตุ/ กามธาตุ- กามตัณหา-กามตัณหา
P1048 ๑๗) หน้าที่ที่มนุษย์พึงปฏิบัติต่อ “กาม” กำจัดกามวิตก (อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคปลาย)
P1054-1 ๑๘) กรณีกามวิตก (อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคปลาย)
P1056 ๑๘) ธรรมชาติของกามแห่งกามวิตก (อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคปลาย)
558 ๑๙) กาม-ผู้ติดเหยื่อโลก ชอบฟังเรื่องกาม ไม่ฟังเรื่องสงบ. ตาหูจมูกลิ้นกาย เป็นสิ่งที่น่าปราถนา..เขาย่อมไม่ฟังเรื่องความสงบ
707 ๒๐) กาม พยาบาท เบียดเบียน : เนกขัมมะ อัพพยาปาท อวิหิงสาสนิทานสูตร ... เปรียบเหมือนคบไม้ติดไฟ ต้องรีบละ รีบบรรเทา
715 ๒๑) กามสัญญา-อาเนญชสัปปายสูตร มีในภพนี้-ภพหน้า และ กามสัญญา ทั้งที่มีในภพนี้ -ภพหน้า ทั้ง ๒ อย่างนี้เป็นบ่วงแห่งมาร
 
227 ๒๒) กามสูตร (กามเลว กามปานกลาง กามปราณีต)
783

๒๓) สนิทานสูตร ว่าด้วยธรรมที่เป็น ต้นเหตุ กาม พยาบาท เบียดเบียน

838 ๒๔) ปัญจราชสูตร...รูปทั้งหลาย เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะทั้งหลาย ยอดสุดแห่ง ความพอใจ นั่นแหละ เป็นยอดใน เบญจกามคุณ
871 ๒๕) โยคสูตร (กิเลส) กามโยคะ กำหนัด เพราะกาม...เพลิดเพลิน เพราะกาม...ความหมกมุ่น เพราะกาม...นี้เราเรียกว่า กามโยคะ
944 ๒๖) โยคสูตร : โยคะ ๔ ประการเป็นไฉน กามโยคะ ภวโยคะ ทิฏฐิโยคะ อวิชชาโยคะ
957 ๒๗) วัตถุกาม กิเลสกาม วัตถุกามเป็นไฉน? รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ เงิน ทองบ้าน นิคม  อันเป็นที่ชอบใจ...
872 ๒๘) กามสัญโญชน์ (เครื่องร้อยรัดในกาม)
254 ๒๙) กามุปาทาน (ยึดติดในกาม คือความเพลินพอใจที่เกิดจาก ตา หู จมู ลิ้น กายสัมผัส)

  2) อุปมา-เรื่องกาม
643 ๑) กาม-อุปมา ๓ ข้อ ตรัสกับภาระทวาชะ การหลีกออกจากกาม เหมือนไม้สดแช่อยู่ในน้ำ-ไม้สดตั้งบนบก-ไม้แห้งเกรอะตั้งบนบก
568 ๒) ผู้บริโภคกามเหมือนคนโรคเรื้อน เหมือนคนตาบอด  มาคัณฑิยสูตร ความไม่มีโรคเป็นลาภอย่างยิ่ง นิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง
846 ๓) กาม (อุปมากาม ๗ ข้อ) เปรียบเหมือนสุนัขหิว..เหมือนแร้ง..เหมือนหลุมถ่านเพลิง..เหมือนบุรุษฝัน
957 ๔) อุปมา- ผู้ปราถนากาม กามเปรียบเหมือนถูกแทงด้วยลูกศร
S5- 96 ๕) กามคุณ ๕ เปรียบเป็นมารผู้ใจบาป รูปที่เห็นด้วยตา เสียงฟังด้วยหู กลิ่นดมด้วยจมูก รส-ลิ้มด้วยลิ้น อันเป็นที่น่าปรารถนาน่ารักใคร่
P300 ๖) อุปมา-กามเปรียบด้วยท่อนกระดูก (อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคต้น)
P301 ๗) อุปมา-กามเปรียบด้วยชิ้นเนื้อคาปาก  (อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคต้น)
P302 ๘) อุปมา-กามเปรียบด้วยคบเพลิงทวนลม (อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคต้น)
P303 ๙) อุปมา-กามเปรียบด้วยหลุมถ่านเพลิง (อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคต้น)
P304 ๑๐) อุปมา-กามเปรียบด้วยของยืม (อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคต้น)
P305 ๑๑) อุปมา-กามเปรียบด้วยผลไม้ (อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคต้น)
P312 ๑๒) อุปมา-กามเปรียบด้วยรูรั่วของเรือ (อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคต้น)
P307 ๑๓) รายละเอียดที่ควรศึกษาเกี่ยวกับกาม (อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคต้น)
P309 ๑๔) ไวพจน์ของกาม (อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคต้น)
 
P290 ๑๕) ลักษณะแห่ง กามตัณหา (อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคต้น)
P291 ๑๖) กามเป็นเครื่องผูก (อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคต้น)
P292 ๑๖) กามเป็นมายา (อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคต้น)
P292-1 ๑๘) มีความเย็นในกาม (อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคต้น)
P293 ๑๙) คนกล่าวคำเท็จเพราะกาม (อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคต้น)
P294 ๒๐) อิทธิพลของกาม (อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคต้น)
P295 ๒๑) เข้าไปหาความตายเพราะกาม (อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคต้น)
P296 ๒๒) ความเพลิน(ในกาม) เป็นแดนเกิดแห่งทุกข์ (อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคต้น)
P297-1 ๒๓) ความอร่อยกลางกองทุกข์ (ความลวงของกาม) (อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคต้น)
 
S5-126 ๒๔) กามภพ รูปภพ อรูปภพ ในแง่มุมของการเกิดภายหลังกายแตกทำลาย
28-P71 ๒๕) กามเลว ปานกลาง ประณีต (หนังสือสกทาทามี พุทธวจน กาม และ กามคุณ)
29-P73 ๒๖) กามอันเป็นทิพย์ ประณีตกว่ากามของมนุษย์ (หนังสือสกทาทามี พุทธวจน กาม และ กามคุณ)
   
957 ๒๗) กามเสื่อม ไปได้อย่างไร ถูกพระราชาริบไปบ้าง โจรลักไปบ้าง ไฟไหม้บ้าง น้ำพัดไปบ้าง เมื่อกามเสื่อมไปย่อมกระสับกระส่าย
P1050 ๒๘) การหลีกจากกาม เป็นบุรพภาคของพรหมจรรย์  (อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคปลาย)
957 ๒๙) ว่าด้วยการเว้นขาดกาม ด้วยเหตุ ๒ ประการ 1.ด้วยการเจริญสต-การเจริญภาวนา 2.โดยการตัดขาด
1189 ๓๐) กามทั้งหลาย ย่อมดับในที่ใด กาม ทั้งหลายย่อมดับในปฐมฌาน
37-P101 ๓๑) เหตุเกิดของ กามฉันทะ(หนังสือสกทาทามี พุทธวจน กาม และ กามคุณ)
38-P102 ๓๒) อาหารของ กามฉันทะ (หนังสือสกทาทามี พุทธวจน กาม และ กามคุณ)
39-P104 ๓๓) เมื่อตั้งใจฟังธรรม กามฉันทะ ย่อมไม่มี (หนังสือสกทาทามี พุทธวจน กาม และ กามคุณ)

1372 3) วังคีสสังยุต : เรื่องพระวังคีสะ รวม ๑๑ พระสูตร
  นิกขันตสูตรที่ ๑  พระวังคีสะ เห็นสตรีแล้วเกิดความกำหนัด ไม่เป็นลาภของเราหนอ เราได้ชั่วเสียแล้วหนอ
  อรติสูตรที่ ๒ พระวังคีสะ ติดแล้วในรูป เสียง กลิ่น รส ... อันอาศัย ปิยรูป สาตรูป ๖๐ เป็นอันมาก
  เปสลาติมัญญนาสูตรที่ ๓ พระวังคีสะ ดูหมิ่นภิกษุผู้มีศีล เกิดทุกข์ใจร้อนใจ ว่าไม่เป็นลาภของเราหนอ  
  อานันทสูตรที่ ๔ ท่านพระวังคีสะ เดินบิณฑบาตไปกับพระอานนท์ เกิดความกำหนัด จึงบอกให้ พระอานนท์ทราบ  
  สุภาษิตสูตรที่ ๕ ท่านพระวังคีสะ ได้ทูลสรรเสริญพระผู้มีพระภาค วาจาอันประกอบด้วยองค์ ๔
  สารีปุตตสูตรที่ ๖ ท่านพระวังคีสะ สรรเสริญพระสารีบุตร ว่าแสดงธรรมด้วย ธรรมีกถา ให้รู้ความได้แจ่มแจ้ง แบบย่อก็ได้ พิศดารก็ได้
  ปวารณาสูตรที่ ๗ ท่านพระวังคีสะ กล่าวสรรเสริญพระผู้มีพระภาคว่า พระองค์ทำให้ภิกษุ ๕๐๐ รูป เป็นบุตรของพระผู้มีพระภาค
  ปโรสหัสสสูตรที่ ๘ ท่านพระวังคีสะกล่าวสรรเสริญพระผู้มีพระภาค ที่ทรงทำให้ภิกษุ ให้อาจหาญ ให้ร่าเริง ด้วยธรรมีกถา
  โกณทัญญสูตรที่ ๙ ท่านพระวังคีสะชมเชยพระอัญญาโกณฑัญญะ ว่าเป็นผู้ตรัสรู้ตามพระองค์ ฉลาดในเจโตฯ
  โมคคัลลานสูตรที่ ๑๐ ท่านพระวังคีสะ ชมเชยพระโมคคัลลานะ เป็นผู้สำเร็จวิชชา ๓ ละมฤตยูเสียได้
  คัคคราสูตรที่ ๑๑ ท่านพระวังคีสะ กล่าวชมพระผู้มีพระภาค

  4) เรื่องพระมหาปชาบดีโคตรมีเถรี พระวินัย (ผู้เลี้ยงดูพระพุทธเจ้า) เอตทัคคะ ผู้รู้ราตรีนาน ภิกษุณี อรหันต์ องค์แรก
1385 (พระวินัย) พระมหาปชาบดี ฯ #1 เรื่องพระฉัพพัคคีย์ ใช้ภิกษุณีซัก ล้าง สางขนเจียมให้กับภิกษุ ทรงบัญญัติ ทำได้เฉพาะญาติ
1386 (พระวินัย) พระมหาปชาบดี ฯ #2 ทรงอนุญาต ให้ภิกษุเข้าไปที่อาศัยของภิกษุณี ในกรณีเพื่อแสดงธรรมกับ ภิกษุณีที่อาพาธเท่านั้น
1387 (พระวินัย) พระมหาปชาบดี ฯ #3 ภิกษุเมืองโกสัมพีวิวาทกันและพากันมายังนครสาวิตถี ภิกษุณีปชาบดีเข้าเฝ้าทูลถามข้อปฏิบัติ
1388 (พระวินัย) พระมหาปชาบดี ฯ #4 ทรงให้พระอานนท์ อุปสมบทนางปชาบดี(บวชภิกษุนีเป็นครั้งแรก) หลังนางรับ ครุกรรม ๘ แล้ว
1389 (พระวินัย) พระมหาปชาบดี ฯ #5 มาตุคามมีกลิ่นเหม็น ทรงอนุญาตให้ใช้น้ำชำระได้ลึกเพียงสองข้อองคุลี เกินกว่านั้นเป็นปาจิตตีย์
1390 (บทธรรม) พระมหาปชาบดี ฯ #6 นันทโกวาทสูตร ท่านพระนันทกะ (เอตทัคคะ) แสดงธรรมแก่ภิกษุณี จำนวน ๕๐๐ รูป
1392 รวมพระสูตร พระนางปชาบดีโคตมี เรื่องราวของภิกษุณีในพุทธศาสนา.. ครุธรรม ๘.. การบวชภิกษุณีครั้งแรกในประเทศไทย
1393 ครุธรรม ๘ ประการ คือกฎที่เข้มงวดสำหรับภิกษุณี สิกขามานา ๖ ประการ (ศีล๖)

1405 5) อริยสัจสี่ หลากหลายนัยยะ
  (๑) การรู้อริยสัจ เป็นของไม่เหลือวิสัยพระอริยบุคคล จึงมีปริมาณมาก
(๒) การรู้อริยสัจ แลกเอากับการถูกแทงด้วยหอกวันละ 300 ครั้ง ตลอด 100 ปี
(๓) การรู้อริยสัจ คือคุณสมบัติของอริยะบุคคล
(๔) ตถาคตก็เป็นอริยะ คือผู้กล่าวสัจจะ ต่อโลกมนุษย์ เทวโลก พรหมโลก มารโลก และหมู่สัตว์
(๕) อริยสัจสี่ (แบบพิเศษ) ธรรมที่ควรรอบรู้ ที่ควรละ ที่ควรกระทำให้เจริญ ที่ควรกระทำให้แจ้ง

1406 6) อริยสัจสี่ ในรูปแบบต่างๆ
  (๑) อริยสัจสี่ นัยยะทั่วไป (ทุกข์ ความเกิด...สมุทัย ตัณหาคือเชื้อ นิโรธ ดับตัณหา.. มรรค๘)
(๒) อริยสัจสี่ ทรงแสดงด้วยปัญจุปาทานขันธ์ (ความยึดในรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ)
(๓) อริยสัจสี่ ทรงแสดงด้วยอายตนะภายในหก (จักษุ โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ มนะ)
(๔) อริยสัจสี่ เนื่องกันจนเห็นแต่อริยสัจเดียวไม่ได้ (ย่อมเห็นครบทั้ง ๔)
(๕) ขยายความของจตุราริยสัจ (ทรงแสดงด้วยคำว่า อันตะ หรือ อริยสัจสี่)
(๖) ขยายความของจตุราริยสัจ (ทรงแสดงด้วยคำว่า สักกายะ)
(๗) ขยายความของจตุราริยสัจ (ทรงแสดงด้วยคำว่า โลก)
   
   
   
   
   
   
   
   
   


หนังสือพุทธวจน ออนไลน์
90 90 90 90
พุทธประวัติ ขุมทรัพย์ อริยสัจ
ภาคต้น
อริยสัจ
ภาคปลาย
ปฏิจจ ปฐมธรรม ตถาคต อนาคามี อินทรีย์
สังวร
สัตว์
สัตตานัง
ทาน
สกทาคามี
ฆราวาส
ชั้นเลิศ
มรรควิธี
ที่ง่าย
อริยวินัย เดรัจฉานวิชา กรรม สมถะ
วิปัสสนา
โสดาบัน นา
ปานสติ
จิต มโน
วิญญาณ
ก้าวย่าง
อย่างพุทธะ
ตามรอย
ธรรม
ภพ ภูมิ
พุทธวจน
สาธยาย
ธรรม
สังโยชน์