(ย่อแบบตาราง) |
ฝั่งอกุศล
(มิจฉาสังกัปปะ ดำริในทางที่ผิด) |
ฝั่งกุศล
(สัมมาสังกัปปะ ดำริชอบ) |
อกุศลวิตก ๓ อย่าง |
กุศลวิตก ๓ อย่าง |
๑. กามวิตก (ดำริ นึก คิด ในกาม)
|
๑. เนกขัมมวิตก
(ดำริ ออกจากกาม) |
๒. พยาปาทวิตก (ดำริ ในทางพยาบาท)
|
๒. อัพยาปาทวิตก
(ดำริ ไม่พยาบาท) |
๓. วิหิงสาวิตก
(ดำริ ในทางเบียดเบียน) |
๓. อวิหิงสาวิตก
(ดำริ ไม่เบียดเบียน) |
|
อกุศลสังกัปปะ ๓ อย่าง |
กุศลสังกัปปะ ๓ อย่าง |
๑. กามสังกัปปะ (ดำริ ในทางกาม) |
๑. เนกขัมมสังกัปปะ (ดำริในทางออกจากกาม) |
๒. พยาปาทสังกัปปะ
(ดำริ ในทางพยาบาท) |
๒. อัพยาปาทสังกัปปะ
(ดำริในทางไม่พยาบาท) |
๓. วิหิงสาสังกัปปะ
(ดำริในทางเบียดเบียน) |
๓. อวิหิงสาสังกัปปะ
(ดำริในทางไม่เบียดเบียน) |
|
อกุศลสัญญา ๓ อย่าง |
กุศลสัญญา ๓ อย่าง |
๑. กามสัญญา [ความจำได้ในทางกาม] |
๑. เนกขัมมสัญญา
[ความจำได้ในทางออกจากกาม] |
๒. พยาปาทสัญญา [ความจำได้ในทางพยาบาท] |
๒. อัพยาปาทสัญญา
[ความจำได้ในทางไม่พยาบาท] |
๓. วิหิงสาสัญญา [ความจำได้ในทางเบียดเบียน] |
๓. อวิหิงสาสัญญา
[ความจำได้ในทางไม่เบียดเบียน] |
|
อกุศลธาตุ ๓ อย่าง |
กุศลธาตุ ๓ อย่าง |
๑. กามธาตุ [ธาตุคือกาม] |
๑. เนกขัมมธาตุ [ธาตุคือความออกจากกาม] |
๒. พยาปาทธาตุ [ธาตุคือความพยาบาท] |
๒. อัพยาปาทธาตุ [ธาตุคือความไม่พยาบาท] |
๓. วิหิงสาธาตุ
[ธาตุคือความเบียดเบียน] |
๓. อวิหิงสาธาตุ [ธาตุคือความไม่เบียดเบียน] |