เว็บไซต์ อนาคามี เผยแพร่ พุทธวจน คำสอนของพระศาสดา คำสอนตถาคต รวมพระสูตรสำคัญ อนาคามี เว็บไซต์เผยแพร่คำสอนของพระพุทธเจ้า
ค้นหาคำที่ต้องการ       

  ชุด (7) มีเรื่อง
   1. ความนานของสังสารวัฏที่สัตว์ท่องเที่ยวไป ๖ อุปมา  5. ปฐมปัณณาสก์ ๓๕ เรื่อง
   2. ความยาวนานของกัป ๔ เรื่อง  6. สิกขาบทวิภังค์ (วินัยปิฎก) ๑๖ เรื่อง
   3. สังสารวัฏนี้ หาเบื้องต้นไม่ได้ เบื้องปลายไม่ได้  ๙ อุปมา  7. เธอสำคัญความนั้นเป็นไฉน รูปเที่ยงหรือไม่เที่ยง ๑๒ เรื่อง
   4. ในกัปนี้ พระผู้มีพระพุทธเจ้าปรินิพพานไปแล้ว ๔ พระองค์  8. บุคคล ๔ จำพวก เป็นไฉน ๑๐ พระสูตร

P 1338 พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๖ หน้า ๑๗๗ - ๑๙๐
หน้า 1) อุปมา- ความนานของสังสารวัฏที่สัตว์ท่องเที่ยวไป
177-1

(๑) เหมือนตัดใบไม้ กิ่งไม้ในป่ามารวมกัน ว่านี่เป็นมารดา ของมารดา...ไม้หมดป่า แต่สายป่านเครือญาติยังไม่สิ้น

177-2 (๒) ปั้นดินเท่าเม็ดกระเบา ว่าเป็นบิดาของเรา เป็นบิดาของบิดา จนดินหมดทั้งปฐพี ความเป็นบิดาของบิดา..ก็ยังไม่สิ้น
178 (๓) น้ำตาของสัตว์ ที่เคยไหลจากสิ่งที่พลัดพราก คร่ำครวญ ร้องไห้อยู่ มากกว่าน้ำในมหาสมุทรทั้งสี่
179 (๔) น้ำนมมารดา ที่สัตว์เคยดึ่มกิน ที่พวกเธอผู้ท่องเที่ยวไปมาอยู่ มากกว่าน้ำในมหาสมุทรทั้งสี่
183 (๕) ชัดท่อนไม้ไปในอากาศ บ้างก็ตกเอาโคนลง เอาปลายลง เอากลางลง ไม่แน่นอน สังสารวัฏนี้หาเบื้องต้นเบื้องปลายไม่ได้
184 (๖) กระดูกของคนๆหนึ่งที่ตายไป เมื่อขนมารวมกันตลอด 1กัป ยังใหญ่กว่าเขาเวลปุลละ
 
  2) อุปมา-ความยาวนานของกัป
180-1 ภูเขาหินแท่งทึบ กว้างยาวสูง ด้านละ1 โยชน์ 100 ปี ลูบด้วยผ้า1 ครั้ง จนหินราบไป กัปก็ยังไม่สิ้น
180-2 นครทำด้วยเหล็ก กว้างยาวสูงด้านละ 1 โยชน์ บรรจุเมล็ดผักกาด ทุก100ปี หยิบออก1เมล็ดจนหมด กัปก็ยังไม่สิ้น
181 สาวก ระลึกชาติในอดีต วันละ 1 แสนกัป ตลอด 100 ปี กัปก็ยังไม่สิ้น
182 กัปที่ล่วงไป มากกว่าเมล็ดทรายในแม่น้ำคงคา
 
  3) สังสารวัฏนี้ หาเบื้องต้นไม่ได้ เบื้องปลายไม่ได้
185-1 เห็นคนพิการพึงเข้าใจว่า ในอดีตเราก็เคยพิการเช่นคนๆนั้นมาแล้ว
185-2 เห็นคนมีสุข ก็พึงเข้าใจว่า ในอดีตเราก็เคยสุขเช่นคนๆนั้นมาแล้ว
186 เมื่อเธอทั้งหลาย เกิดเป็นโค ซึ่งถูกตัดศีรษะตลอดกาลนาน โลหิตที่หลั่งไหลออก นั่นแหละมากกว่าน้ำในมหาสมุทรทั้ง ๔
186 เมื่อเธอทั้งหลาย เกิดเป็นแกะ ซึ่งถูกตัดศีรษะตลอดกาลนาน โลหิตที่หลั่งไหลออก นั่นแหละมากกว่าน้ำในมหาสมุทรทั้ง ๔
186 เมื่อเธอทั้งหลาย เกิดเป็นแพะ ซึ่งถูกตัดศีรษะตลอดกาลนาน โลหิตที่หลั่งไหลออก นั่นแหละมากกว่าน้ำในมหาสมุทรทั้ง ๔
186 เมื่อเธอทั้งหลาย เกิดเป็นนื้อ ซึ่งถูกตัดศีรษะตลอดกาลนาน โลหิตที่หลั่งไหลออก นั่นแหละมากกว่าน้ำในมหาสมุทรทั้ง ๔
186 เมื่อเธอทั้งหลาย เกิดเป็นสุกร ซึ่งถูกตัดศีรษะตลอดกาลนาน โลหิตที่หลั่งไหลออก นั่นแหละมากกว่าน้ำในมหาสมุทรทั้ง ๔
186 เมื่อเธอทั้งหลาย เกิดเป็น ไก่ ซึ่งถูกตัดศีรษะตลอดกาลนาน โลหิตที่หลั่งไหลออก นั่นแหละมากกว่าน้ำในมหาสมุทรทั้ง ๔
186

เมื่อพวกเธอถูกจับตัดศีรษะ สมัยเป็นมนุษย์ ข้อหาเป็นโจรฆ่าชาวบ้าน โลหิตที่หลั่งไหลออก มากกว่าน้ำในมหาสมุทรทั้ง ๔

   
  สังสารวัฏนี้ หาเบื้องต้นไม่ได้ เบื้องปลายไม่ได้
187-1 สงสารนี้ สัตว์ที่ไม่เคยเกิดมาเป็น มารดา..หาได้ไม่ง่ายเลย
187-2 สงสารนี้ สัตว์ที่ไม่เคยเกิดมาเป็น บิดา..หาได้ไม่ง่ายเลย
188-1 สงสารนี้ สัตว์ที่ไม่เคยเกิดมาเป็น พี่ชาย น้องชาย ..หาได้ไม่ง่ายเลย
188-2 สงสารนี้ สัตว์ที่ไม่เคยเกิดมาเป็น พี่หญิง น้องหญิง ..หาได้ไม่ง่ายเลย
188-3 สัตว์ที่ไม่เคยเกิดมา เป็นบุตร ..หาได้ไม่ง่ายเลย
189-1 สัตว์ที่ไม่เคยเกิดมา เป็นธิดา ..หาได้ไม่ง่ายเลย
 
  4) ในกัปนี้ พระผู้มีพระภาคในอดีต ก็ปรินิพพานไปแล้ว และ ตถาคต ก็จะปรินิพพาน
189-2 ในกัปนี้ พระผู้มีพระภาคฯ กกุสันธ ก็ปรินิพพานไปแล้ว มนุษย์ยุคนี้อายุ 4 หมื่นปีก็ทำกาละไปแล้ว ภูเขาชื่อปาจีนวังสบรรพต ก็หายไปแล้ว สังขารทั้งหลายไม่เที่ยงอย่างนี้ .. พอเพื่อจะหลุดพ้น ดังนี้
190 ในกัปนี้ พระผู้มีพระภาคฯ โกนาคมนะ ก็ปรินิพพานไปแล้ว มนุษย์ยุคนี้อาย3 หมื่นปีก็ทำกาละ ไปแล้ว ภูเขาชื่อ วงกฏบรรพต ก็หายไปแล้ว สังขารทั้งหลายไม่เที่ยงอย่างนี้ .. พอเพื่อจะหลุดพ้น ดังนี้
190-1 ในกัปนี้ พระผู้มีพระภาคฯ กัสสป ก็ปรินิพพานไปแล้ว มนุษย์ยุคนี้อาย2 หมื่นปีก็ทำกาละ ไปแล้ว ภูเขาชื่อสุปัสสบรรพต ก็หายไปแล้ว เหตุเพียงเท่านี้เพียงพอเพื่อ ความเบื่อหน่าย
190-2 ในกัปนี้ พระผู้มีพระภาคฯ ตถาคต ก็จะปรินิพพาน มนุษย์ยุคนี้อาย 100 ปี ก็จะต้องทำกาละ ภูเขาชื่อ เวลปุลละก็อันตรธานหายไป สังขารทั้งหลายไม่เที่ยงอย่างนี้ .. พอเพื่อจะหลุดพ้น ดังนี้

1343 5) ปฐมปัณณาสก์
  1) โทษที่เป็นไปในปัจจุบัน โทษที่เป็นไปในภพหน้า เป็นไฉน
  2) กายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ย่อมเข้าถึงทุคติ วินิบาต นรก
  3) ความเพียรซึ่งเกิดได้ยาก ๒ อย่างเป็นไฉน
  4) ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความเดือดร้อน ๒ อย่างเป็นไฉน
  5) คุณของธรรม ๒ อย่าง ที่ควรรู้ทั่วถึงเป็นไฉน
  6) ความพอใจในธรรม กับ ความหน่ายในธรรม อันเป็นปัจจัยแห่งสังโยชน์
  7) ธรรมฝ่ายดำ ๒ อย่าง อหิริกะ อโนตตัปปะ
  8) ธรรมฝ่ายขาว ๒ อย่าง หิริ โอตตัปปะ
  9) ปฏิสังขานพละ ภาวนาพละ เป็นไฉน (นัยยะ ๑)
  10) ปฏิสังขานพละ กับ ภาวนาพละ เป็นไฉน (นัยยะ ๒)
  11) ปฏิสังขานพละ กับ ภาวนาพละ เป็นไฉน (นัยยะ ๓)
  12) การแสดงธรรมโดยย่อ กับ โดยพิสดาร เป็นไฉน
  13) เหตุปัจจัยที่ทำให้สัตว์ต้องไปนรก หรือสุคติโลกสวรรค์ หลังกายแตกทำลาย
  14) กายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ไม่อาจทำได้โดยส่วนเดียว
  15) ธรรม ๒ อย่าง บท บทพยัญชนะ ที่ตั้งไว้ดี-ไม่ดี อรรถ ที่นำมาดี-ไม่ดี
  16) คนพาล ๒ จำพวก กับ บัณฑิต ๒ จำพวก เป็นไฉน
  17) คน ๒ จำพวก กล่าวตู่- ไม่กล่าวตู่ ตถาคต
  18) คน ๒ จำพวก กล่าวตู่- ไม่กล่าวตู่ ตถาคต
  19) คติ ๒ อย่าง คือ นรก-กำเนิดเดรัจฉาน และ เทวดา มนุษย์( การงานลามก มีมิจฉาทิฐิ ทุศีล)
  20) อำนาจประโยชน์
  21) ภูมิ อสัตบุรุษ และสัตบุรุษ
  22) การตอบแทนบิดามารดา (ให้มี ศรัทธาสัมปทา ศีลสัมปทา จาคสัมปทา ปัญญาสัมปาทา)
  23) ว่าด้วย วาทะควรทำ และ วาทะไม่ควรทำ(ควรทำกุศลธรรม คือกายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต)
  24) ทักขิไณยบุคคล พระเสขะ - พระอเสขะ
  25) บุคคลที่มีสังโยชน์ ในภายใน และบุคคลที่มีสังโยชน์ ในภายนอก
  26) เทวดาที่มีจิตเสมอกันเข้าเฝ้า รายงานว่าพระสารีบุตรกำลังแสดงธรรม
  27) อะไรเป็นเหตุให้ มนุษย์ เกิดการวิวาทกัน (พราหมณ์ถามท่านพระมหากัจจานะ)
  28) สมัยใดโจรมีกำลัง สมัยนั้นพระเจ้าแผ่นดิน ย่อมถอยกำลัง
  29) ภิกษุผู้ปฏิบัติแล้ว ย่อมห้ามอรรถ และธรรมที่ตนเรียนมาไม่ดี
  30) บริษัทตื้น บริษัทลึก เป็นไฉน
  31) บริษัทที่แยกออกเป็นพวก กับ บริษัทที่สามัคคีกัน เป็นไฉน
  32) บริษัทที่ไม่มีอัครบุคคล กับ บริษัทที่มีอัครบุคคล เป็นไฉน
  33) บริษัทที่มิใช่อริยะ บริษัทที่เป็นอริยะ เป็นไฉน
  34) บริษัทหยากเยื่อ กับ บริษัทใสสะอาด เป็นไฉน
  35) บริษัทที่ดื้อด้าน กับ บริษัทไม่ดื้อด้าน เป็นไฉน
  36) บริษัทที่หนักในอามิส กับ ไม่หนักในสัทธรรม เป็นไฉน
  37) บริษัทไม่เรียบร้อย กับ บริษัทเรียบร้อย เป็นไฉน
  38) บริษัทที่ไร้ธรรม กับ บริษัทที่ประกอบด้วยธรรม เป็นไฉน
  39) อธรรมวาทีบริษัท กับ ธรรมวาทีบริษัท เป็นไฉน

1348 6) สิกขาบทวิภังค์ (วินัยปิฎก)
  วินัยปิฎก ฉบับนี้ ว่าด้วยการถูกเนื้อต้องตัว สตรี บุรุษ สัตว์เดรัจฉาน กระเทย ภิกษุ มารดา ธิดา พี่น้องหญิง ฯลฯ มีนิยามคำต่างๆ ว่า
อะไรคือจับ อะไรคือต้อง แค่ไหนอย่างไร และยังมีข้อยกเว้น เช่นไม่รู้ ไม่มีเจตนา นอกจากนี้ยังขยายขอบเขต ไปถึงบุคคลทั่วไปด้วย
เช่น ผู้เจริญ ผู้มีธรรมะ ว่าไม่ควรคิด ไม่ควรทำในสิ่งเหล่านี้ ที่สำคัญ อเสขะบุคคล(อรหันต์) ก็ยังต้องปฏิบัติตามสิกขาบทนี้ด้วย
  1) สิกขาบทวิภังค์
  2) สิกขาบทนี้ ขยายขอบเขตไปถึงบุคคลทั่วไปด้วย)
  3) นิยาม ความหมาย ของคำต่างๆ
  4) สตรี-กายต่อกาย / บัณเฑาะก์ กายต่อกาย/ บุรุษ-กายต่อกาย/ สัตว์ดิรัจฉาน/ สตรีสองคน
  5) บัณเฑาะก์ (กระเทย) สองคน-กายต่อกาย /บุรุษสองคน-กายต่อกาย
  6) สัตว์ดิรัจฉานสองตัว-กายต่อกาย /สตรี บัณเฑาะก์-กายต่อกาย /สตรี บุรุษ-กายต่อกาย
  7) สตรี ดิรัจฉาน-กายต่อกาย /บัณเฑาะก์ บุรุษ/บัณเฑาะก์ สัตว์ดิรัจฉาน/บุรุษ-สัตว์ดิรัจฉาน
  8) สตรี-กาย ต่อเนื่องด้วยกาย /สตรี-ของเนื่องด้วยกาย/สตรี-ของเนื่องด้วยกายต่อของเนื่อง
  9) สตรี-ของที่โยนต่อกาย /สตรี-ของที่โยนเนื่องด้วยกาย /สตรี-ของที่โยนต่อของที่โยน
  10) สตรี-กายต่อกาย /สตรี-กายเนื่องด้วยกาย /สตรี-เนื่องด้วยกาย /สตรี-ของเนื่องด้วยกาย
  11) สตรี-ของที่โยนต่อกาย /สตรี-ของที่โยนเนื่องด้วยกาย /สตรี-ของที่โยนต่อของที่โยน
  12) เรื่องการเสพด้วยกาย รู้ตอบสัมผัส -ไม่รู้ตอบสัมผัส
  13) อนาปัตติวาร (ข้อยกเว้น)
  14) คาถาแสดงชื่อเรื่อง /เรื่องมารดา /เรื่องธิดา /เรื่องพี่น้องหญิง
  15) เรื่องชายา/เรื่องยักษี /เรื่องบัณเฑาะก์ /เรื่องสตรีหลับ /เรื่องสตรีตาย
  16) เรื่องสัตว์ดิรัจฉานตัวเมีย/ เรื่องตุ๊กตาไม้/ เรื่องฉุดต่อๆ กัน / เรื่องสะพาน

1349 7) พวกเธอสำคัญ ความนั้น เป็นไฉน รูปเที่ยง หรือไม่เที่ยง?
 

12 พระสูตร ที่พระศาสดาแสดงธรรมเรื่อง ความไม่เที่ยงของขันธ์ 5 โดยจะมีรูปแบบทวนถาม รูปเที่ยง หรือไม่เที่ยง?

 
  ตรัสกับ เรื่อง ประไตรปิฎก ฉบับหลวง
1 ตรัสกับ ปัจจวัคคีย์ (ปฐมเทศนา) ตรัสถามความเห็น ปัญจวัคคีย์ เล่มที่ ๔ หน้าที่ ๒๑
2 ตรัสกับ ภิกษุ ท. พาลธรรม เล่มที่ ๑๒ หน้าที่ ๑๙๑
3 ตรัสกับ คฤหบดี บุตรโสณะ สณสูตรที่ ๑ เล่มที่ ๑๗ หน้าที่ ๔๘
4 ตรัสกับ ภิกษุรูปหนึ่ง กรรมที่อนัตตากระทำ เล่มที่ ๑๗ หน้าที่ ๑๐๑
5 พระปุณณ/อานนท์/ภิกษุ.ท ๑. อานันทสูตร เล่มที่ ๑๗ หน้าที่ ๑๐๓
6 ตรัสกับ ติสสะ ๒. ติสสสูตร เล่มที่ ๑๗ หน้าที่ ๑๐๔
7 พระสารีบุตร กล่าวกะ ยมกะ ๓. ยมกสูตร เล่มที่ ๑๗ หน้าที่ ๑๐๖
8 ตรัสกับ อนุราธะ ๔. อนุราธสูตร เล่มที่ ๑๗ หน้าที่ ๑๑๒
9 ตรัสกับ วักกลิ (ผู้อาพาธ) ๕. วักกลิสูตร เล่มที่ ๑๗ หน้าที่ ๑๑๕
10 ตรัสกับ อัสสชิ ๖. อัสสชิสูตร เล่มที่ ๑๗ หน้าที่ ๑๒๐
11 ตรัสกับ ภิกษุรูปหนึ่ง ๕. นขสิขสูตร เล่มที่ ๑๗ หน้าที่ ๑๓๘
12 ตรัสกับ อานนท์ ๑๐. อานันทสูตร เล่มที่ ๑๗ หน้าที่ ๑๘๗

1319 8) บุคคล ๔ จำพวก เป็นไฉน
 

จำพวก(1) 1.ยังละโอรัมภาคิยสังโยชน์ไม่ได้ (สกทาคามี)  2.อนาคามี  3.อนาคามี (อันตราปรินิพพายี) 4. อรหันตขีณาสพ

  จำพวก(2) 1. ผู้ฉลาดผูกไม่ฉลาดแก้ 2.ฉลาดแก้ ไม่ฉลาดผูก 3.ฉลาดทั้งผูก-ทั้งแก้  4.ไม่ฉลาดทั้งผูก-ทั้งแก้
  จำพวก(3) 1.คฆฏิตัญญู รู้ธรรมแต่หัวข้อ 2.วิปจิตัญญู รู้ธรรมเมื่ออธิบาย 3.เนยยะพอแนะนำได้ 4.ปทปรมะ ผู้มีบทเป็นอย่างยิ่ง
  จำพวก(4) ดำรงชีพด้วยผลของความหมั่น ด้วยผลของกรรม -ดำรงชีพด้วยผลความหมั่นก็ไม่ใช่ ด้วยผลของกรรมก็ไม่ใช่
  จำพวก(5) บุคคลผู้มีโทษ บุคคลผู้มากด้วยโทษ  บุคคลผู้มีโทษน้อย  บุคคลผู้หาโทษมิได้
  จำพวก(6) ไม่บริบูรณ์ในศีลสมาธิปัญญา..บริบูรณศีลไม่บริบูรณ์สมาธิ-ปัญญา..บริบูรณ์ศีลสมาธิ-ไม่ปัญญา ..บริบูรณ์ศีล สมาธิ ปัญญา 
  จำพวก(7) ไม่หนักในศีล-ไม่มีศีลเป็นใหญ่..ไม่หนักสมาธิ-ไม่หนักปัญญา..หนักในศีล-หนักในสมาธิ หนักปัญญา-ปัญญาเป็นใหญ่
  จำพวก(8) จิตไม่ออก-กายไม่ออก... จิตออก-กายไม่ออก.. จิตยังไม่ออก-กายออก.. กายออก-จิตออก
  จำพวก(9) 1.กล่าวธรรมน้อยได้ประโยชน์ 2.กล่าวน้อยไม่ได้ประโยชน์ 3.กล่าวมากไม่ได้ประโยชน์ 4.กล่าวธรรมมาก ได้ประโยชน์
  จำพวก(10) นักพูด ๔จำพวก จำนนอรรถไม่จำนนพยัญชนะ จำนนพยัญชนะไม่จำนนอรรถ จำนนทั้งอรรถทั้งพยัญชนะ ไม่จำนนทั้งสอง
 
   


หนังสือพุทธวจน ออนไลน์
90 90 90 90
พุทธประวัติ ขุมทรัพย์ อริยสัจ
ภาคต้น
อริยสัจ
ภาคปลาย
ปฏิจจ ปฐมธรรม ตถาคต อนาคามี อินทรีย์
สังวร
สัตว์
สัตตานัง
ทาน
สกทาคามี
ฆราวาส
ชั้นเลิศ
มรรควิธี
ที่ง่าย
อริยวินัย เดรัจฉานวิชา กรรม สมถะ
วิปัสสนา
โสดาบัน นา
ปานสติ
จิต มโน
วิญญาณ
ก้าวย่าง
อย่างพุทธะ
ตามรอย
ธรรม
ภพ ภูมิ
พุทธวจน
สาธยาย
ธรรม
สังโยชน์