เว็บไซต์ อนาคามี เผยแพร่ พุทธวจน คำสอนของพระศาสดา คำสอนตถาคต รวมพระสูตรสำคัญ อนาคามี เว็บไซต์เผยแพร่คำสอนของพระพุทธเจ้า
ค้นหาคำที่ต้องการ       

  ชุด (5) มีเรื่อง  
   1. รวมพระสูตรโยนิโสมนสิการ ๓๐ เรื่อง  5. รักษาโรคด้วยโพชฌงค์ ๗ รวม ๑๑ พระสูตร
   2. กายสักขีบุคคล ๕ พระสูตร  6. มัคคอริยสัจ (ความจริงอันประเสริฐ) รวม ๒๓ พระสูตร
   3. เรื่องสำคัญของพระพุทธเจ้า ๑๑ เรื่อง  7. เทวตาสังยุต ๙ วรรค เหล่าเทวดาเข้าเฝ้า (รวม ๑๑๑ พระสูตร)
   4. รวมพระสูตรอนุปุพพิกถา ๒๕ พระสูตร  

  1) รวมพระสูตร โยนิโสมนสิการ การกระทำไว้ในใจโดยแยบคาย และ อโยนิโสมนสิการ 
1296 1) โยนิโสมนสิการ หมายถึง
2) องค์ของการบรรลุโสดา ๔ อย่าง
3) ว่าด้วยการสังวรในอาสวะทั้งปวง
4) จงละมนสิการ ไม่แยบคายเสีย
5) โยนิโสมนสิการ เป็นนิมิตแห่งอริยมรรค
6) โยนิโสมนสิการ เป็นนิมิตแห่งอริยมรรค
7) โยนิโสมนสิการ มีอุปการะมากแก่อริยมรรค
8) โยนิโสมนสิการ มีอุปการะมากแก่อริยมรรค
 
1297 9) โยนิโสมนสิการ เป็นเหตุให้เกิดอริยมรรค
10) โยนิโสมนสิการ เป็นเหตุให้เกิดอริยมรรค
11) อโยนิโสมนสิการ(ไม่กระทำในใจโดยแยบคาย) คืออาหารของนิวรณ์ ๕
12) โยนิโสมนสิการ (กระทำในใจโดยแยบคาย)คืออาหารของโพชฌงค์ ๗
13) โยนิโสมนสิการ เป็นเบื้องแรกแห่งโพชฌงค์
14) ธรรมที่เป็นกุศล มีโยนิโสมนสิการเป็นมูล
15) โยนิโสมนสิการ(กระทำในใจโดยแยบคาย) เป็นปัจจัยแห่งโพชฌงค์
16) อโยนิโสมนสิการ (ไม่กระทำในใจโดยแยบคาย) คืออาหารของนิวรณ์
 
1298 17) โยนิโสมนสิการ อาหารของโพชฌงค์
18) โยนิโสมนสิการ มิใช่อาหารของนิวรณ์
19) ว่าด้วยองค์ธรรมเครื่องบรรลุโสดา
20) อโยนิโสมนสิการ คือปัจจัยเพื่อความเกิดขึ้นแห่งราคะ
21) เมื่อกระทำไว้ในใจโดยแยบคาย โมหะที่ยังไม่เกิด ย่อมไม่เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแล้วย่อมละได้
22) โยนิโสมนสิการ ทำไว้ในใจโดยแยบคาย ย่อมเป็นไปเพื่อความเจริญ
23) อโยนิโสมนสิการ แล เป็นเหตุเป็นปัจจัยแห่งการทำบาปกรรม
 
1299 24) อโยนิโสมนสิการ ไม่มีเถาวัลย์ คือมานะ
25) โยนิโสมนสิการ เป็นธรรมภิกษุผู้เป็นเสขะ ยังไม่บรรลุอรหัตผล
26) อโยนิโสมนสิการ เป็นรากเง้าแห่งธรรมเครื่องเนิ่นช้า ของตัณหาและทิฏฐิ
27) อโยนิโสมนสิการ รากของความโกรธและความดูหมิ่น
28) โยนิโสมนนิการ เบื้องต้นของผู้หยั่งลงสู่ความเพียร(พระโยคาวจร)
29) อโยนิโสมนสิการ เป็นข้อหนึ่งในที่ตั้งแห่งทิฐิ ๘
30) ธรรม ๔ ประการ ย่อมเป็นไปเพื่อทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล

1302 2) กายสักขีบุคคล หลุดพ้นด้วยปัญญา โดยส่วนสอง ... ธรรมที่พึงรู้ได้เอง...นิพพานพึงรู้ได้เอง
  1) กามเหสสูตรที่ ๑ (เพียงเท่าไหรหนอ จึงเรียกว่า กายสักขีบุคคล)
2) กามเหสสูตรที่ ๒ (เพียงเท่าไรหนอ บุคคลพึงหลุดพ้นด้วยปัญญา)
3) กามเหสสูตรที่ ๓ (เพียงเท่าไรหนอ บุคคลพึงหลุดพ้นโดยส่วนสอง)
4) สันทิฏฐิกสูตรที่ ๑ (เพียงเท่าไรหนอ ธรรม อันผู้บรรลุจะพึงเห็นเอง)
5) สันทิฏฐิกสูตรที่ ๒ (เพียงเท่าไรหนอ นิพพาน อันผู้บรรลุจะพึงเห็นเอง)

1001 3) เรื่องสำคัญของพระพุทธเจ้า
  1) การบำเพ็ญบารมีในอดีตชาติ
2) การประสูติ พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
3) เสด็จอุทยาน (วิปัสสีราชกุมาร)
4) บำเพ็ญสมาบัติ ในสำนักอาฬารดาบส และ อุทกดาบส รามบุตร
5) ปฏิบัติวัตรของเดียรถีย์ ก่อนบำเพ็ญทุกรกิริยา
6) บำเพ็ญทุกรกิริยา ๗ วาระ
7) การแสวงหาสัจจะ - อาการแห่งการตรัสรู้
8) สิ่งที่ตรัสรู้
9) หลังตรัสรู้ ทรงปริวิตก
10) ปัญจวัคคีย์ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ปฐมเทศนา
11) การปรินิพพาน
    - เสด็จแสดงธรรมในช่วงวาระสุดท้าย
    - ปลงสังขาร
    - เสด็จกุสินารา เพื่อปรินิพพาน

1240 4) รวมพระสูตร อนุปุพพิกถา (เทศนาเป็นลำดับ ฟอกอัธยาศัยของสัตว์ให้หมดจดเป็นชั้นๆ) อนุปุพพิกถา อ่านว่า อนุ-ปุพ-พิ-กถา
 
  พระพุทธเจ้าแสดง อนุปุพพิกถา แด่ ผู้ฟังธรรม ๒๖ พระสูตร -ฉบับหลวง
1 ยสกุลบุตร 1 ฉบับหลวง เล่มที่ ๔ หน้าที่ ๒๔
2 บิดาของยสกุลบุตร 1 ฉบับหลวง เล่มที่ ๔ หน้าที่ ๒๖
3 มารดา และภรรยาเก่าของพระยสกุลบุตร 2 ฉบับหลวง เล่มที่ ๔ หน้าที่ ๒๘
4 สหายคฤหัสถ์ ๔ คนของท่านพระยส  4 ฉบับหลวง เล่มที่ ๔ หน้าที่ ๒๙
5 สหายคฤหัสถ์ ๕๐ คน ของพระยส 50 ฉบับหลวง เล่มที่ ๔ หน้าที่ ๓๐
6 สหายภัททวัคคีย์ ๓๐ คน พร้อมด้วยปชาบดี 31 ฉบับหลวง เล่มที่ ๔ หน้าที่ ๓๕
7 พราหมณ์คหบดีชาวมคธทั้ง ๑๒ นหุต(หมื่น) 120,000 ฉบับหลวง เล่มที่ ๔ หน้าที่ ๕๒
8 พระสาคตเถระ .. ชาวตำบลแปดหมื่น 80,000 ฉบับหลวง เล่มที่ ๕ หน้าที่ ๓
9 พราหมณ์เวลัฏฐกัจจานะ 1 ฉบับหลวง เล่มที่ ๕ หน้าที่ ๖๘
10 สีหเสนาบดี 1 ฉบับหลวง เล่มที่ ๕ หน้าที่ ๘๓
11 ภรรยาบุตรสะใภ้ และทาสของเมณฑกะคหบดี 3 ฉบับหลวง เล่มที่ ๕ หน้าที่ ๙๓
12 โรชะมัลลกษัตริย์ 1 ฉบับหลวง เล่มที่ ๕ หน้าที่ ๑๐๐
13 อนาถบิณฑิกคหบดี 1 ฉบับหลวง เล่มที่ ๗ หน้าที่ ๖๘
14 บุรุษคนเดียว และ บุรุษ ๒ คน 3 ฉบับหลวง เล่มที่ ๗ หน้าที่ ๑๑๙
15 บุรุษ ๑๖ คน 16 ฉบับหลวง เล่มที่ ๗ หน้าที่ ๑๑๙
16 พราหมณ์โปกขรสาติ 1 ฉบับหลวง เล่มที่ ๙ หน้าที่ ๑๑๖
17 กูฏทันตพราหมณ์ 1 ฉบับหลวง เล่มที่ ๙ หน้าที่ ๑๘๑
18 พระราชโอรสขัณฑะและติสสะบุตรปุโรหิต * 2 ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๐ หน้าที่ ๗๓
19 หมู่มหาชนประมาณ ๘๔,๐๐๐ คน * 84,000 ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๐ หน้าที่ ๓๕
20 บรรพชิต ๘๔,๐๐๐ รูป * 84,000 ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๐ หน้าที่ ๓๖
  * พระพุทธเจ้าพระนามว่า วิปัสสี  (กัปที่ ๙๑ สมัยมนุษย์อายุ ๘๐,๐๐๐ ปี)
21 อุบาลีคฤหบดี 1 ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ หน้าที่ ๕๕
22 พรหมายุพราหมณ์ 1 ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ หน้าที่ ๔๑๑
23 สีหเสนาบดี 1 ฉบับหลวง เล่มที่ ๒๓ หน้าที่ ๑๔๓
24 อุคคคฤหบดี 1 ฉบับหลวง เล่มที่ ๒๓ หน้าที่ ๑๖๐
25 อุคคคฤหบดี 1 ฉบับหลวง เล่มที่ ๒๓ หน้าที่ ๑๖๓
26 สุปปพุทธกุฏฐิสูตร 1 ฉบับหลวง เล่มที่ ๒๕ หน้าที่ ๑๐๔
 
พระพุทธเจ้า โคดม มีผู้ฟังธรรม 200,123 คน
พระพุทธเจ้า วิปัสสี มีผู้ฟังธรรม 168,002 คน
   

1325 5) รวมพระสูตร อาพาธหายได้ด้วย โพชฌงค์ ๗
  1) คิลานวรรคที่ ๒ ปาณูปมสูตร อาศัยศีลเจริญโพชฌงค์ ๗
2) สุริยูปมสูตรที่ ๑ อาศัยกัลยาณมิตรเจริญโพชฌงค์ ๗
3) สุริยูปมสูตรที่ ๒ โยนิโสมนสิการเป็นเบื้องแรก แห่งโพชฌงค์
4) คิลานสูตรที่ ๑ พระมหากัสสป หายอาพาธด้วยโพชฌงค์ ๗
5) คิลานสูตรที่ ๒ พระมหาโมคคัลลานะ หายอาพาธด้วยโพชฌงค์ ๗
6) คิลานสูตรที่ ๓ พระผู้มีพระภาค หายประชวรด้วยโพชฌงค์ ๗
7) ปารคามีสูตร เจริญโพชฌงค์ ๗ ย่อมเป็นไปเพื่อถึงฝั่ง
8) วิรัทธสูตร โพชฌงค์ ๗ ที่ปรารภผิดปรารภถูก
9) อริยสูตร เจริญโพชฌงค์ ๗ ย่อมนำตนออกจากทุกข์
10) นิพพานสูตร เจริญโพชฌงค์ ๗ ย่อมเป็นไปเพื่อความหน่าย
11) โพชฌงค์ ๗ คือ

  6) ว่าด้วย มัคคอริยสัจ ความจริงอันประเสริฐคือมรรค อริยสัจจากพระโอษฐ์ ๒ ภาค ๔  หน้าที่ ๑๓๓๑ - ๑๓๖๗
1201 (๑) สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ (โลกุตตรสมาธิ) ไม่มีปฐวีสัญญา ไม่มีอาโปสัญญา ไม่มีเตโชสัญญา ไม่มีวาโย
1202 (๒) สมาธิที่เป็นอสังขตมนสิการ การเจริญสมาธิที่มีนิพพานเป็นอารมณ์
1203 (๓) จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง ละอภิชฌา พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจ วิจิกิจฉา
1204 (๔) ประโยชน์ของการเจริญสมาธิ ธรรมย่อมปรากฏตามที่เป็นจริงว่าจักษุ รูปทั้งหลาย จักขุวิญญาณ จักขุสัมผัส เวทนา เป็นอนิจจัง
1205 (๕) อานุภาพแห่งสมาธิ ความเพียรกระทำให้รู้ว่า นี้ทุกข์ นี้เหตุให้เกิดทุกข์ นี้ความดับไม่เหลือ นี้ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือ
1206 (๖) อานิสงส์ของการหลีกเร้น เธอทั้งหลายจงเป็นผู้มีความหลีกเร้น เป็นที่มายินดี ยินดีแล้วในความหลีกเร้น
1207 (๗) แม้เพียงปฐมฌาน ก็ชื่อว่าเป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร ภิกษุสงัดจากกาม จากอกุศลธรรม เข้าถึงปฐมฌาน อันมีวิตกมีวิจาร
1208 (๘) แม้เพียงปฐมฌาน ก็บำบัดกิเลสอันเป็นเครื่องระคายใจได เธอนั้นไปแล้วสู่ป่าสู่โคนไม้สู่เรือนว่างก็ตาม นั่งคู้ขาเข้ามาโดยรอบ
1209 (๙) เจโตสมาธิที่สามารถเพิ่มผาสุกทางกาย สมัยใด ตถาคต เข้าถึงเจโตสมาธิอันไม่มีนิมิต เพราะไม่กระทำ ในใจซึ่งนิมิตทั้งปวง
1210 (๑๐) ที่นั่ง - นอน - ยืน - เดิน อันเป็นทิพย์ .. ถ้าเดินอยู่ นั่งอยู่ นอนอยู่ ในสมัยนั้น สถานที่ตรงนั้น ก็ชื่อว่า สถานที่อันเป็นทิพย์
1211 (๑๑) ธรรมที่ทำความเป็นผู้มีอำนาจเหนือจิต ๗ ประการ ฉลาดในสมาธิ.. เข้าสู่สมาธิ...ดำรงอยู่ในสมาธิ... ออกจากสมาธิ
1212 (๑๒) ฌานระงับความรัก-เกลียด ตามธรรมชาติ ๔ ประการ รักเกิดจากรัก เกลียดเกิดรัก รักเกิดจากเกลียด เกลียดเกิดจากเกลียด
1213 (๑๓) ตถาคตพลญาณ มีได้เฉพาะแก่ผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ๖ ประการ ยถาภูตญาณ ในสิ่งซึ่งเป็นฐานะ ในสิ่งซึ่งเป็นวิบาก
1214 (๑๔) การรักษาโรคด้วยสมาธิ ด้วยสัญญา ๑๐ ประการ อนิจจสัญญา อนัตต อสุภ อาทีนว ปหาน วิราค นิโรธ สัพพโล สัพพ อานา
1215 (๑๕) นิวรณ์ - ข้าศึกแห่งสมาธิ มีชื่อว่าเครื่องปิด บ้าง เครื่องกั้น บ้าง เครื่องคลุม บ้าง เครื่องร้อยรัด บ้าง
1216 (๑๖) นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง กามฉันทะ.... ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง..
1217 (๑๗) จิตตระหนี่ เป็นสิ่งที่ต่ำเกินไปเพื่อบรรลุฌาน และทำให้แจ้งมรรคผล ได้แก่ตระหนี่อาวาส ตระหนี่ตระกูล ตระหนี่ลาภ
1218 (๑๘) สนิมจิต เทียบสนิมทอง สนิมจิตห้าประการคือ เครื่องเศร้าหมอง กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ วิจิกิจฉา
1219 (๑๙) เสี้ยนหนาม ๑๐ อย่าง .. มาตุคาม เป็นเสี้ยนหนามแก่พรหมจรรย์ เสียงเป็นเสี้ยนหนามแก่ปฐมฌาน วิตกวิจาร..
1220 (๒๐) การอยู่ป่ากับการเจริญสมาธิ เสนาสนะอันสงัด คือป่าหรือป่าเปลี่ยวอยู่ได้ยาก ปวิเวกทำได้ยาก ความอยู่คนเดียวได้ยาก
1221 (๒๑) ลำดับพฤติจิตของผู้ไม่ประมาท เมื่อบุคคลสำรวม จักขุนทรีย์ อยู่ จิตย่อมไม่เกลือกกลั้ว ในรูปทั้งหลาย ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ
1222 (๒๒) สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่..ปฐมฌาน. ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน
1223 (๒๓) เจโตวิมุตติ ชนิดที่ยังมีอุปสรรค ภิกษุเข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ แล้วแลอยู่ อาศัยเจโตวิมุตตินั้น กระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ

  7) เทวตาสังยุต เทวดาชั้นกามภพ และชั้นพรหม เข้าเฝ้าพื่อกล่าว ภาษิตคาถา และทูลถามข้อธรรมต่างๆ (รวม ๑๑๑ พระสูตร)
1355  (1) นฬวรรคที่ ๑ (๑๐ พระสูตร โดยย่อ)
 ๑. ท.พระองค์ข้ามโอฆะ (วัฎฎะ)ได้อย่างไร .เราไม่พักอยู่ ไม่เพียรอยู่ ข้ามโอฆะได้แล้ว
 ๒. ท.พระองค์ทราบทางหลุดพ้นหรือหนอ .มรรคเป็นทางหลุดพ้น นิพพานเป็นที่สงัด
 ๓. ท.ชีวิตถูกต้อน ความชราไม่มีผู้ป้องกัน .บุคคลเมื่อเห็นภัย พึงละอามิสในโลกเสีย
 ๔. ท.วัยย่อมละไปตามลำดับ . บุคคลเมื่อเห็นภัย พึงละอามิสในโลกเสีย มุ่งสันติเถิด
 ๕. ท.บุคคลควรตัด ควรล่วงเครื่องข้องอะไร .ควรตัดสังโยชน์ บำเพ็ญอินทรีย์ ละขันธ์๕
 ๖. ท.ธรรมประเภทไหนนับว่าหลับ ประเภทไหนตื่น พ. อินทรีย์๕ ตื่น นิวรณ์ ๕ นับว่าหลับ
 ๗. พ. ผู้ใดแทงตลอดในธรรมดีแล้ว ย่อมไม่ถูกจูงไปในวาทะ ของชนพวกอื่น
 ๘. พ. ธรรมทั้งหลายอันชนใดไม่ลืมเลือนแล้ว ย่อมไม่ถูกจูงไปในวาทะ ของชนพวกอื่น
 ๙. พ. ละมานะแล้ว มีจิตตั้งมั่น พ้นธรรมทั้งปวงแล้ว ไม่ประมาท พึงข้ามฝั่งแห่งมัจจุได้
 ๑๐. ภิกษุอยู่ในป่า ฉันหนเดียว ผ่องใสด้วยอะไร พ.ไม่เศร้าโศก ถึงสิ่งที่ล่วงไปแล้ว
 
1356 (2) นันทวรรคที่ ๒ (๑๐ พระสูตร โดยย่อ)
 ๑. ท.ชื่นชมเสพกามอันเป็นทิพย์ พ.ท่านผู้เขลา ท่านย่อมไม่รู้จักว่าสังขารทั้งปวงไม่เที่ยง
 ๒. พ. ผู้ใดมีอุปธิในโค บุตร ภรรยา ย่อมเศร้าโศก บุคคลผู้ไม่มีอุปธิ ย่อมไม่เศร้าเลย
 ๓. . ความรักเสมอด้วยความรักตน ไม่มี แสงสว่างเสมอด้วยปัญญา ไม่มี
 ๔. พ. พระพุทธเจ้าประเสริฐกว่าสัตว์ ๒ เท้า สัตว์อาชาไนยประเสริฐสุดกว่าสัตว์ ๔ เท้า
 ๕. พ. ป่าใหญ่คือสถานที่วิเวก นั้น เป็นความน่ายินดีแก่ภิกษุ ผู้ปราถนาความสงบ
 ๖. . อริยมรรคอันบริสุทธิ์ ย่อมขับไล่ความหลับ ความเกียจคร้าน ความไม่ยินดี
 ๗. ท.ธรรมของสมณะทำได้ยาก คนพาลติดขัด พ.หากไม่พัวพันในตัณหา ย่อมนิพพาน
 ๘. พ.ขีณาสวภิกษุมีน้อย เมื่อบรรลุนิพพาน ย่อมประพฤติเรียบร้อย
 ๙.ท.ท่านไม่มีกระท่อมหรือ พ้นเครื่องผูกหรือ พ.กระท่อมเราไม่มี พ้นแล้วจากเครื่องผูก
 ๑๐. พ. กามทั้งหลายมีโดยกาล มีทุกข์มาก มีโทษมาก โลกุตรธรรมให้ผลไม่มีกาล
 
1357 (3) สัตติวรรคที่ ๓ (๑๐ พระสูตร โดยย่อ)
 ๑. พ.ภิกษุพึงมีสติ เพื่อละสักกายทิฏฐิ ที่เหมือนถูกประหารด้วยหอก ถูกไฟไหม้บนศีรษะ
 ๒. พ. ผู้ประทุษร้ายนรชน  บาปย่อมมาถึงบุคคลนั้น ผู้เป็นพาลแท้
 ๓. พ. ผู้มีปัญญา ตั้งมั่นในศีล อบรมจิต และปัญญาให้เจริญอยู่ ภิกษุนั้นพึงถางรกชัฏนี้ได้
 ๔. พ. บุคคลผู้ไม่ห้ามใจในอารมณ์ทั้งปวง บาปย่อมเกิดขึ้น ไปตามอารมณ์นั้น ๆ
 ๕. พ. กิเลสเป็นเครื่องผูก มิได้มีแก่ภิกษุที่ละมานะเสียแล้ว ภิกษุนั้นกำจัดเสียแล้ว
 ๖. พ. พระสัมพุทธเจ้าประเสริฐกว่าแสงสว่างทั้งหลาย เป็นแสงสว่างอย่างเยี่ยม
 ๗. พ. น้ำ ดิน ไฟ ลม ย่อมไม่ตั้งอยู่ในที่ใด วัฏฏะย่อมไม่ นามรูปย่อมดับหมดในที่นั้น
 ๘. พ. ผู้ละเรือน ละบุตร กำจัดราคะ โทสะ อวิชชาแล้ว ย่อมไม่ขวนขวายในโลก
 ๙. พ. ตัดความผูกโกรธ เครื่องร้อยรัด ถอนตัณหา อันมีอวิชชาเป็นมูล ทุกข์จักไม่มี
 ๑๐. พ. กามคุณ ๕ มีใจเป็นที่ ๖ เลิกความพอใจในนามรูปแล้ว ก็พ้นจากทุกข์ได้
 
1358 (4) สตุลลปกายิกวรรคที่ ๔ (๑๑ พระสูตร โดยย่อ)
 ๑. พ. บุคคลควรนั่งร่วมกับพวกสัตบุรุษ ทราบสัทธรรมของพวกสัตบุรุษ ย่อมพ้นจากทุกข์
 ๒. พ. ทำให้เขาเศร้าโศกแล้วให้ทาน มีหน้าอันนองด้วยน้ำตา เป็นไปกับด้วยอาชญา
 ๓. เรื่องทานของเทวดาในแบบต่างๆ พ. บทธรรม เพื่อนิพพาน ประเสริฐว่าทาน
 ๔. พ.พวกเทวดาและมนุษย์รู้ธรรม ละวิจิกิจฉาแล้ว ย่อมเป็นผู้ล่วงแล้วซึ่งธรรมเครื่องข้อง
 ๕. พ. โทษ และความผิดไม่มี แก่ตถาคต ผู้มีปัญญา เป็นผู้มีสติ ในกาลทั้งปวง
 ๖. . ผู้มีปัญญาทรามย่อมประมาท นักปราชญ์ไม่ประมาทเหมือนผู้ดูแลทรัพย์อันประเสริฐ
 ๗. พ. เทวดามาจากโลกธาตุสิบ ต้องการเห็นพระผู้มีพระภาค และภิกษุสงฆ์
 ๘. พ. เทวดามาเปล่งอุทาน ชื่นชม หลัง ถูกสะเก็ดหินจากน้ำมือของพระเทวทัต
 ๙. พ. ธิดาท้าวปัชชุนนะ ชื่อโกกนทา กล่าวคาถา ว่า เคยได้ยินธรรมนี้แล้วในกาลก่อน
 ๑๐. ท. ใครๆ ละกามแล้ว มีสติสัมปชัญญะ ไม่พึงเสพทุกข์ อันไม่ประกอบด้วยประโยชน์
 
1359  (5) อาทิตตวรรคที่ ๕ (๑๐ พระสูตร โดยย่อ)
 ๑. คาถา ท. เมื่อเรือนถูกไฟไหม้แล้ว ภาชนะใดนำออกไปได้ ย่อมเป็นประโยชน์แก่เขา
 ๒. พ.บุคคลให้อาหารชื่อว่าให้กำลัง ให้ผ้าชื่อว่าให้วรรณะ สอนธรรมชื่อว่าให้ อมฤตธรรม
 ๓. พ.ชนใดให้อาหารด้วยศรัทธา ใจผ่องใส อาหารนั้นย่อมพะนอเขาในโลกนี้ -โลกหน้า
 ๔. เทวดาภาษิต ว่า บาดาล มีรากอันเดียว มีความวนสอง มีมลทินสาม ฤาษีข้ามพ้นแล้ว
 ๕. ท. ท่านทั้งหลาย เชิญดูพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น... ทรงก้าวไปในทางอันประเสริฐ
 ๖. พ. สัมมาทิฏฐิ มีอยู่แก่ผู้ใด เขา(ย่อมไป)ในสำนักพระนิพพาน ด้วยยานนี้แหละ
 ๗. พ. ชนเหล่านั้นใดอยู่ในธรรม สมบูรณ์ด้วยศีล ชนเหล่านั้นเป็นผู้ไปสวรรค์
 ๘. ท. พระเชตวันนี้ พระพุทธเจ้าประทับอยู่แล้ว เป็นที่เกิดปีติของข้าพระองค์
 ๙. พ. ผู้ละความตระหนี่ เลื่อมใสในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ย่อมอุบัติในสวรรค์
 ๑๐. ท.ฆฏิกรพรหม อดีตช่างปั้นหม้อ เคยฟังธรรมกัสสปพุทธเจ้า เวียนมาพบกับ พ.โคดม
 
1360  (6) ชราวรรคที่ ๖ (๑๐ พระสูตร โดยย่อ)
 ๑. ศีล ยังประโยชน์ให้สำเร็จจนชรา ศรัทธายังประโยชน์ให้สำเร็จ ปัญญาเป็นรัตนะ
 ๒. ศีล ไม่ชำรุดจึงยังประโยชน์ให้สำเร็จ ศรัทธาดำรงมั่นแล้ว ยังประโยชน์ให้สำเร็จ
 ๓. เกวียน-โค เป็นมิตรของคนเดินทาง มารดา เป็นมิตรในเรือนของตน
 ๔. บุตร เป็นที่ตั้งของมนุษย์ทั้งหลาย ภรรยา เป็นสหายอย่างยิ่ง
 ๕. พ. ตัณหายังคนให้เกิด สัตว์เวียนว่ายไปยังสงสาร ทุกข์ เป็นภัยใหญ่ของเขา
 ๖. พ. ตัณหายังคนให้เกิด สัตว์เวียนว่ายไปยังสงสาร สัตว์ ย่อมไม่หลุดพ้นจากทุกข์
 ๗. ตัณหายังคนให้เกิด จิตย่อมวิ่งพล่าน สัตว์เวียนว่ายในสงสาร กรรม เป็นที่พักของสัตว์
 ๘. พระอริยเจ้าทั้งหลาย สรรเสริญการฆ่าความโกรธ ซึ่งมีรากเป็นพิษ มียอดหวาน
 ๙. โลก อันความอยากผูกไว้ เพราะกำจัดความอยากเสียได้ จึงหลุดพ้น
 ๑๐. เมื่ออายตนะ ๖ เกิดขึ้น โลกจึงเกิดขึ้น โลกย่อม เดือดร้อนเพราะอายตนะ ๖
 
1361 (7) อันธวรรคที่ ๗ (๑๐ พระสูตร โดยย่อ)
 ๑. ชื่อ ย่อมครอบงำ สิ่งทั้งปวง สิ่งทั้งปวง ที่ยิ่งขึ้นไปกว่าชื่อ ไม่มี 
 ๒. โลกทั้งหมด เป็นไปตามอำนาจของธรรม อันหนึ่ง คือจิต
 ๓. โลกทั้งหมด เป็นไปตามอำนาจของธรรมอันหนึ่ง คือตัณหา
 ๔. โลก มีความเพลิดเพลินเป็นเครื่องประกอบไว้ ละตัณหาได้ขาด จึงเรียกว่านิพพาน
 ๕. โลก มีความเพลิดเพลินเป็นเครื่องผูก ละตัณหาได้ขาด จึงตัดเครื่องผูก
 ๖. โลก อันมฤตยู กำจัดแล้ว อันชรา ล้อมไว้แล้ว อันลูกศรคือ ตัณหาเสียบแล้ว
 ๗. โลก อันตัณหาดักไว้ อันชราล้อมไว้ โลกอันมฤตยูปิดไว้ โลกตั้งอยู่แล้วในทุกข์
 ๘. โลก อันมฤตยูปิดไว้ โลก ตั้งอยู่แล้วใน ทุกข์ โลก อันตัณหาดักไว้อันชราล้อมไว้
 ๙. โลก อันความอยากผูกไว้ กำจัดความอยากเสียได้จึงหลุดพ้น
 ๑๐. เมื่ออายตนะ ๖ เกิดขึ้น โลกจึงเกิดขึ้น... โลกย่อม เดือดร้อนเพราะอายตนะ ๖
 
1362 (8) ฆัตวาวรรคที่ ๘ (๑๐ พระสูตร โดยย่อ)
๑. พระอริยเจ้าทั้งหลาย สรรเสริญการฆ่าความโกรธ ซึ่งมีรากเป็นพิษ มียอดหวาน
 ๒. ธงเป็นสง่าของรถ ควันเป็นเครื่องปรากฏของไฟ พระราชาเป็นสง่าของแว่นแคว้น
 ๓. ธรรมที่ประพฤติดีแล้ว นำความสุขมาให้ คนที่อยู่ด้วยปัญญา กล่าวว่ามีชีวิตประเสริฐ
 ๔. ความรู้ที่งอกขึ้นเป็นประเสริฐ อวิชชาที่ตกไปเป็นประเสริฐ
 ๕. ผู้ที่ตั้งอยู่ในธรรม ๔ อย่าง ชื่อว่าผู้ดำรงในธรรม วาจาชอบ ไม่บาปด้วยกาย..
 ๖. รูปของสัตว์ย่อมทรุดโทรม นาม และ โคตรไม่ทรุดโทรม ราคะ ท่านเรียกว่าทางผิด
 ๗. สมณะมาหา บ่อยๆ บัณฑิตย่อมยินดีต้อนรับ
 ๘. วาจาที่ดีควรปล่อย(ควรพูด) แต่วาจาที่ลามกไม่ควรปล่อย (ไม่ควรพูด)
 ๙. ความอยาก ละได้ยากในโลก สัตว์เป็นอันมาก ติดอยู่ในความอยาก เหมือนนกติดบ่วง
 ๑๐.ปัญญา เป็นแสงสว่างในโลก สติ เป็นธรรมเครื่องตื่นอยู่ในโลก
 ๑๑. สมณะในธรรมวินัยนี้ ไม่เป็นข้าศึกในโลก พรหมจรรย์ที่อยู่จบแล้ว ย่อมไม่เสื่อม
 
1363 (9) เทวปุตตสงยุตวรรคที่ ๑ (๑๑ พระสูตร โดยย่อ)
 ๑. ท. พึงศึกษาคำสุภาษิต พึงนั่งใกล้สมณะ การสงบระงับจิต... พ.ทรงพอพระทัย
 ๒. ท. ภิกษุผู้มุ่งต่อพระอรหัต พึงรู้ความเกิด ความเสื่อม แห่งโลก พึงละตัณหาและทิฐิ
 ๓. พ. บุคคลฆ่าความโกรธแล้วย่อมอยู่เป็นสุข ความโกรธซึ่งมีรากเป็นพิษ มียอดหวาน
 ๔. พระสัมพุทธเจ้าประเสริฐสุด กว่าแสงสว่างทั้งหลาย แสงสว่างนี้เป็นยอดเยี่ยม
 ๕. พ. ผู้ได้ท่าเป็นที่จอดแล้ว ยืนอยู่บนบก ถึงฝั่งแล้ว อาสวะสิ้นแล้ว เรียกว่าพราหมณ์
 ๖. พ.อริยะทั้งหลาย ย่อมไปได้แม้ทางที่ไม่เสมอ ผู้มิใช่อริยะย่อมบ่ายศีรษะลงเบื้องต่ำ
 ๗. พ.ชนเหล่าใด แม้อยู่ในที่คับแคบ แต่ได้ตั้งสติเพื่อบรรลุธรรม ตั้งมั่นดีแล้วโดยชอบ
 ๘. ท. ความชั่วไม่ทำเสียเลยประเสริฐกว่า ความชั่วย่อมเผาผลาญในภายหลัง พ.พอใจ
 ๙. จันทิมเทวบุตร ถูกอสุรินทราหูจับไว้ แต่ระลึกถึงภาษิต ของโคดม อสูรจึงต้องปล่อย
 ๑๐.สุริยเทวบุตรร ถูกอสุรินทราหูจับไว้ แต่ระลึกถึงภาษิต ของโคดม อสูรจึงต้องปล่อย 
 
1364 (10) อนาถปิณฑิกวรรคที่ ๒ (๑๐ พระสูตร โดยย่อ)
 ๑. พ. ชนเหล่าใด เข้าถึงฌาน ไม่ประมาท ละกิเลสได้ ชนเหล่านั้น จักถึงฝั่ง
 ๒. พ.ผู้เพ่งพินิจ ศึกษาตามในข้อสั่งสอนอันเรากล่าวไว้แล้ว ชนเหล่านั้น ไม่ประมาท
 ๓. พ. ภิกษุพึงเป็นผู้มีปกติเพ่งพินิจ มีจิตหลุดพ้นแล้ว พึงหวังความไม่เกิดขึ้นแห่งหทัย  
 ๔. พ.บุคคลใดมีศีล มีปัญญา อบรมแล้ว บุคคลชนิดนี้ล่วงทุกข์ได้ เทวดาทั้งหลายบูชา
 ๕. บุคคลผู้สมบูรณ์ด้วยศีล มีปัญญา ใจตั้งมั่น ปรารภความเพียร ย่อมข้ามโอฆะได้
 ๖. พ.ภิกษุ พึงมีสติ ละสักกายทิฏฐิ  หากไม่ละ เปรียบเหมือนถูกไฟไหม้ศีรษะอยู่
 ๗. พ. ความสวัสดีคือ ปัญญา  ความเพียร สำรวมอินทรีย์ การสละวางทั่วปวง
 ๘. พ. ผู้มีทุกข์นั่นแหละ จึงมีความเพลิดเพลิน ผู้มีความเพลิดเพลินนั่นแหละ จึงมีทุกข์
 ๙. พ. ชีวิตมีอายุน้อยถูกชราต้อนเข้าไป ชีวิตที่ถูกชราต้อนเข้าไปแล้ว ย่อมไม่มีที่ต้านทาน
 ๑๐. ท. ภาษิต  สัตว์ทั้งหลายบริสุทธิ์ด้วย กรรม วิชชา ธรรม ศีลและชีวิต หาใช่ทรัพย์ไม่
 
1365 (11) นานาติตถิยวรรคที่ ๓ (๑๐ พระสูตร โดยย่อ)
 ๑. พ. ชนเหล่าใดสมาคมกับสัตบุรุษผู้รู้ทั่วถึงธรรม ชนเหล่านั้นย่อมพ้นจากทุกข์
 ๒. ท.กล่าวภาษิตคาถา บุคคลละทิ้งธรรม หันไปประพฤติตามอธรรม เป็นคนเขลา
 ๓. พ.ชนใดมีใจผ่องใส ให้ข้าวและน้ำด้วยศรัทธา ย่อมพะนอเขาทั้งโลกนี้และโลกหน้า
 ๔. ฆฏิกรพรหม เล่าว่า อดีตเป็นช่างปั้นหม้อสมัยพระกัสสป ได้มาเกิดเป็นเทวดาพรหม
 ๕. ท. มีคาถา สาวกพระโคดมเป็นอยู่ง่าย แสวงหาบิณฑบาต กระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้
 ๖. พ.การบรรลุถึงที่สุดของโลก ไม่อาจกระทำได้โดยการเดินทาง
 ๗. พ.กาลย่อมล่วงไป วัยย่อมละลำดับไป บุคคลควรพิจารณาเห็นภัยควรละโลกามิสเสีย
 ๘. พ. ตัดความผูกโกรธ ถอนตัณหา พร้อมทั้งอวิชชา จักออกไปจากทุกข์ได้
 ๙. ท.กล่าวชม พระสารีบุตร ว่าท่านเป็นบัณฑิต เป็นผู้ตำหนิคนชั่วข้า เทวดาต่างชื่นชม
 ๑๐. พ.พระพุทธเจ้า โลกกล่าวว่า เป็นเลิศกว่าประชุมชนทั้งโลก พร้อมทั้งเทวโลก
 
   


พุทธวจน : อ่านคำสอนพระศาสดา อ่านแบบสบายตา โดยคัดลอกหนังสือทั้งเล่มมาจัดทำเป็นเว็บเพจ (คลิกอ่านพร้อมดาวน์โหลดไฟล์ pdf)
90 90 90 90
พุทธประวัติ ขุมทรัพย์ อริยสัจ
ภาคต้น
อริยสัจ
ภาคปลาย
ปฏิจจ ปฐมธรรม ตถาคต อนาคามี อินทรีย์
สังวร
สัตว์
สัตตานัง
ทาน
สกทาคามี
ฆราวาส
ชั้นเลิศ
มรรควิธี
ที่ง่าย
อริยวินัย เดรัจฉานวิชา กรรม สมถะ
วิปัสสนา
โสดาบัน นา
ปานสติ
จิต มโน
วิญญาณ
ก้าวย่าง
อย่างพุทธะ
ตามรอย
ธรรม
ภพ ภูมิ
พุทธวจน
สาธยาย
ธรรม
สังโยชน์