|
|
1 |
ทรง ทรัพย์ ทวย ทัลหเนมิ ทางไป |
S7-206 |
ทรงขอให้สาวก เป็นธรรมทายาท (รับมรดกธรรม) อย่าเป็นอามิสทายาท (รับมรดกสิ่งของ) |
449 |
ทรงท้อพระทัยในการแสดงธรรม ..ธรรมนี้เป็นธรรมอันลึก สัตว์อื่นเห็นได้ยาก ยากที่สัตว์อื่นจะรู้ตาม ยากนักที่จะเห็นปฏิจจ |
563 |
ทรงบันลือสีหนาท - ประกาศจตุราริยสัจ(อริยสัจสี่) พระยาสัตว์ชื่อสีหะ ออกจากถ้ำที่อาศัย สัตว์ทั้งหลายก็สะดุ้งกลัว |
821 |
ทรัพย์ หลักการใช้จ่ายทรัพย์ เลี้ยงตน- บิดามารดา บุตร ภรรยา - ป้องกันภัย- สงเคราะห์ญาติ สังคม- อุทิศแด่สมณะ |
356 |
ทรัพย์ในอริยวินัย (นัยที่ ๑).. 1.ทรัพย์คือศรัทธา 2.คือศีล 3.คือสุตะ 4.คือจาคะ 5.คือปัญญา |
357 |
ทรัพย์ในอริยวินัย (นัยที่ ๒).. .1.ทรัพย์คือศรัทธา 2.คือศีล 3.คือหิริ 4.คือโอตตัปปะ 5.คือสุตะ 6.คือจาคะ 7.คือปัญญา |
922 |
ทรัพย์ ในความหมายของพุทธศาสนา (รวม ๗ พระสูตร) |
1439 |
ทวยตานุปัสสนาสูตร ภิกษุประมาณ ๖๐ รูป หลุดพ้นแล้วจากอาสวะ หลังฟังพระเทศนา |
1316 |
ทวยสูตรที่ ๑ ทวยสูตรที่ ๒ ก็ส่วนสองเป็นไฉน จักษุ และ รูป... โสตะ และ เสียง .. วิญญาณเกิดขึ้น เพราะอาศัยส่วนสอง |
772 |
ทัลหเนมิ - จักรพรรดิ์ พระนามว่า ทัลหเนมิ ผู้ทรงธรรม มีมหาสมุทรทั้ง4 เป็นขอบเขต ทรงชนะข้าศึกโดยธรรม มิต้องใช้ศัสตรา |
869 |
ทัลหเนมิ พระจักรพรรดิ์ ผู้ทรงธรรม (จักกวัตติสูตร) มีมหาสมุทรทั้ง 4 เป็นขอบเขต ครอบครอง จักรแก้วอันเป็นทิพย์ |
|
|
2 |
ทาง ทาน ท่าน ทารุ ท้าว ทำ |
805 |
ทางไปแห่งจิตของสัตว์ 36 อย่าง เวทนา 36 เนื่องด้วยเหย้าเรือน 18 (เคหสิต) หลีกออกจากเหย้าเรือน 18 (เนกขัมม-สิต) |
761 |
ทางสายกลาง อันประเสริฐคือองค์ 8 ความจริงอันประเสริฐ เรื่องความทุกข์ ความเกิด แก่ เจ็บ ตาย |
1559 |
ทางสายกลาง ปฏิปทา ๓ อย่าง ๑) อาคาฬหปฏิปทา(พอใจกาม) ๒) นิชฌามปฏิปทา(ทรมานตน) ๓) มัชฌิมาปฏิปทา (สายกลาง) |
1313 |
ทางสายเอก ท้าวสหัมบดีทราบความปริวิตกของ พ.จึงหายตัวจากพรหมโลกมาเข้าเฝ้าฯ เพื่อยืนยันว่า ทางสายเอกคือ สติปัฏฐาน ๔ |
|
(ทาน) |
808 |
ทาน (รวมเรื่องทาน) ผลของการให้ทาน ให้ทานแบบอริยะ ทานของคนดี อานิสงส์ ให้ทานที่ใด ทานที่เลิศ เจริญเมตตาจิตมีผลใหญ่ |
653 |
ทาน การให้ทานแบบต่างๆ ปาฏิปุคคลิกมี ๑๔...ให้ทานแบบเจาะจง อานิสงต่างกัน และ ทานที่ถึงแล้วในสงฆ์ มี ๗ อย่าง |
272 |
ทาน แบบต่างๆ เวลามสูตร (ทรงเล่าการถวายทานแบบต่างๆที่ได้อานิสงส์ต่างกัน สมัยพระองค์เป็นพราหมณ์ ชื่อเวลามะ) |
360 |
ทาน ศีล ภาวนา บุญกิริยาวัตถุ ๓ ประการ สัดส่วนของ ทาน ศีล ภาวนา |
329 |
ทาน ศีล ภาวนา บุญกิริยาวัตถุ ๓ (ทาน ศีล ภาวนา ทำมาก-ทำน้อย ได้อนิสงส์ไปเกิดเป็นมนุษย์ชั่ว มนุษย์ดี และเทวดาต่างกัน) |
130 |
ทาน-การให้ทานที่ประเสริฐสูงสุด นททสูตรที่ ๒ (การให้อะไร ได้อานิสงอย่างไร) |
595 |
ทาน-ชาณุสโสณีสูตร ผลของทานต่อสัตว์เดรัจฉาน.พิจารณาจากกุศลกรรมบถ10 และอกุศลกรรมบถ10.. ทานไม่ส่งผลไปถึงนรก |
1541 |
ทาน ชาณุสโสณีสูตร การให้ทานแก่ผู้ล่วงลับ ย่อมเป็นฐานะ (สำเร็จแห่งทาน) และ อฐานะ (ไม่สำเร็จ) |
597 |
ทาน-ทักขิณาวิภังคสูตร ปาฏิปุคคลิกมี ๑๔ อย่าง การให้ทานให้กับบุคลลต่างๆ |
354 |
ทาน รวมพระสูตรเรื่องการให้ทาน |
596 |
ทาน เวลามสูตร ผลของทาน (แบบย่อ) ให้โสดาบัน มีผลมากกว่าให้กับพราหมณ์ ให้สกทาคามี 1 มีผลมากกว่าให้โสดาบัน 100 |
S2- 60 |
ทาน ให้ทานกับบุคคลต่างกัน จะได้อนิสงส์ต่างกัน |
924 |
ทาน ผลแห่งทาน ๖ ประการ ที่ประจักษ์ในปัจจุบัน ของคนที่มีใจศรัทธา เป็นทานบดี สีหสูตร |
|
(ท่าน ทารุ ท้าว ทำ) |
S4- 48 |
ท่านเป็นไคร เป็นเทวดา เป็นคนธรรพ์ เป็นยักษ์ เป็นมนุษย์ หรือ.. อาสวะเหล่าใดที่จะทำให้เราเป็นเทวดา คนธรรพ์......เราตัดขาดแล้ว |
1657 |
ท่านเป็นเทวดาหรือ (โทณสูตร) อาสวะเหล่าใดที่ทำให้ไปเกิดเป็นเทวดา อาสวะนั้นเราละได้แล้วกระทำให้ไม่มีไม่ให้เกิดขึ้นอีกต่อไป |
1494 |
ทารุกัมมิกสูตร...คฤหัสถ์ผู้ครองเรือนพึงรู้ได้ยาก ว่าภิกษุเหล่าใด เป็นพระอรหันต์ หรือเป็นผู้บรรลุอรหัตมรรค |
338 |
ทารุขันธสูตร ตรัสกับนายนันทโคบาล ที่ได้ฟังคำอุปมาเรื่องท่อนไม้ ที่ถูกน้ำพัด ไม่เข้าใกล้ฝั่งนี้- ฝั่งโน้น...ต่อมาได้ขออุปสมบท |
389 |
ท้าวสหัมบดีพรหม ติเตียนพระอริยเจ้า ย่อมเข้าถึงนรกตลอดกาล ท้าวสหัมบดีพรหม เป็นผู้มาแจ้งแก่พระศาสดา |
414 |
ท้าวสักกะ จอมเทวดา เข้าพบฤาษี อารัญญกสูตรที่ ๙ ท้าวเวปจิตติจอมอสูร และ ท้าวสักกะ จอมเทวดา เข้าพบฤาษี |
584 |
ท้าวสักกะ พบ ฤาษีมีกลิ่น ท้าวสักกะจอมเทพ และ ท้าวเวปจิตติจอมอสูร เข้าพบฤาษี.. |
495 |
ท้าวสักกะจอมเทพ ได้ทูลถามปัญหากับพระผู้มีพระภาค เครื่องผูกพันธ์ใจเทวดา มนุษย์ อสูร นาค คนธรรพ์/ความริษยา... |
S7- 184 |
ทำความเข้าใจเกี่ยวกับอาหาร ถ้าไม่มีราคะ ไม่มีนันทิ ไม่มีตัณหา ในกพฬีการาหารแล้วไซร้, วิญญาณ ก็เป็นสิ่งที่ตั้งอยู่ไม่ได้ |
|
|
3 |
ทิฏฐิ (สักกายทิฐิ) ทิฏฐิสุดโต่ง ทิฏฐิ๓ ทิฏฐิพราหมณ์ ทิฏฐิแห่งโลก |
621 |
ทิฎฐิ สักกายทิฎฐิ ความยึดมั่น อัตตา อนิจจัง อัชฌัตติกสูตร(๑-๑๐) ว่าด้วยเหตุแห่งสุขและทุกข์ภายใน |
662 |
ทิฎฐิสุดโต่งแบบที่ 1 ลมก็ไม่พัด น้ำก็ไม่ไหล สตรีมีครรภ์ก็ไม่คลอด ผู้สิ้นความสงสัย (พระโสดาบัน) . |
663 |
ทิฎฐิสุดโต่งแบบที่ 2 ความเห็นที่เป็นไปในลักษณะขาดสูญ ผู้สิ้นความสงสัย . ทิฎฐิสุดโต่งแบบที่ 2 |
S13-34 |
ทิฏฐิ 2 อย่างนี้ คือ ๑.ภวทิฏฐิ (เห็นว่าภพมีอยู่ เห็นอัตตาเป็นของเที่ยงแท้) ๒.วิภวทิฏฐิ (เห็นว่าภพไม่มี เห็นว่าอัตตาไม่เที่ยง) |
717 |
ทิฏฐิ ๓ ติตถสูตร อย่างในเรื่องกรรมของเดียรถีย์ ...ธรรมที่เราแสดง ไม่ถูกติ คือผัสสายตนะ๖ มโนปวิจาร๑๘ อริยสัจ๔ ธาต ๖ |
205 |
ทิฏฐิ ๑๐ อย่าง ไม่เป็นไปเพื่อความหน่าย เพื่อคลายกำหนัด เพื่อดับสนิทเพื่อสงบระงับ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อตรัสรู้ เพื่อนิพพาน |
683 |
ทิฐิ ชาณุสโสณิสูตร สิ่งทั้งปวงมีอยู่หรือหนอ-ไม่มีอยู่หรือหนอ..เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร เพราะมีสังขารจึงมีวิญญาณ |
696 |
ทิฐิของ ๓ อย่างของ พราหมณ์ ติตถสูตร ธรรมที่ไม่อาจถูกติเตียน ผัสสายตนะ ๖ ... มโนปวิจาร ๑๘ ... อริยสัจ ๔ ...ธาตุ ๖ |
699 |
ทิฐิของพราหมณ์- โต้กับพระพุทธเจ้า วาทะและทิฏฐิ .. การปฏิบัติที่เป็นมิจฉาทิฏฐิของพราหมณ์ แม้ตถาคตก็เคยหลงผิดมาแล้ว |
695 |
ทิฐิว่าเป็นเรา เพราะทิฐิที่ว่า นั่นเป็นเรา.. อัสสุตวตาสูตร ผู้ได้สดับจะเบื่อหน่ายในร่างกาย เพราะความเสื่อมของกาย |
684 |
ทิฐิแห่งโลกที่หนึ่ง อัญญตรสูตร สิ่งทั้งปวงมีอยู่หรือหนอ นี้เป็นทิฐิแห่งโลกที่หนึ่ง.. ตถาคตแสดงธรรมสายกลาง ไม่เข้าใกล้ส่วนสุด |
|
|
4 |
ทิฏฐิ ๖๒ ทิพย์ |
201 |
ทิฏฐิ ๖๒ (แบบย่อ) |
140 |
ทิฏฐิ ๖๒ (แบบตาราง) |
971 |
ทิฏฐิ ๖๒ ฉบับ มหาจุฬา ปุพพันตกัปปิกวาทะ ๑๘ และ อปรันตกัปปิกวาทะ ๔๔ (รวมเป็น ทิฏฐิ ๖๒) |
733 |
ทิฏฐิ ๖๒ (กลุ่ม ๑) สัสสตทิฏฐิ : เห็นว่าตัวตน(อัตตา)และโลกเที่ยง เพราะระลึกชาติได้ เป็นแสนชาติ..รวมทั้งเป็นนักเดา(ตริตรึก) |
734 |
ทิฏฐิ ๖๒ (กลุ่ม ๑) เอกัจจสัสสติกทิฏฐิ เห็นว่าบางอย่างเที่ยง บางอย่างไม่เที่ยง รวมทั้งเป็นนักเดาว่ากายไม่เที่ยง จิตเที่ยง |
735 |
ทิฏฐิ ๖๒ (กลุ่ม ๑) อันตานันติกทิฏฐิ เห็นว่าโลกมีที่สุด และไม่มีที่สุด รวมทั้งเป็นนักเดา ว่าโลกมีที่สุดก็ไม่ใช่ ไม่มีที่สุดก็ไม่ใช่ |
736 |
ทิฏฐิ ๖๒ (กลุ่ม ๑) อมราวิกเขปิกทิฏฐิ ..เป็นลัทธิที่พูดไม่ตายตัวแบบปลาไหล ทั้งปฏิเสธ และไม่ปฏิเสธ เป็นวาทะที่ลื่นไหล |
737 |
ทิฏฐิ ๖๒ (กลุ่ม ๑) อธิจจสมุปปันนิกทิฏฐิ1.เห็นว่าสิ่งต่างๆมีขึ้นเองเพราะเคยเป็นอสัญญีสัตว์(มีรูปไม่มีสัญญา)2.เป็นทิฏฐิที่คิดเอง |
738 |
ทิฏฐิ ๖๒ (กลุ่ม ๒) สัญญีทิฏฐิ ๑๖ ลัทธิ เห็นว่าตนทั้ง ๑๖ ประเภทนี้ ตายไปแล้ว ก็มีสัญญาคือ ความจำได้หมายรู้ทั้งสิ้น |
739 |
ทิฏฐิ ๖๒ (กลุ่ม ๒) อสัญญีทิฏฐิ เห็นว่าไม่มีสัญญา ตายไปแล้วก็ไม่มี ไม่มีความจำได้หมายรู้ มีรูปจนที่สุดก็มิใช่ ไม่มีที่สุดก็มิใช่ |
740 |
ทิฏฐิ ๖๒ (กลุ่ม ๒) เนวสัญญีนาสัญญีทิฏฐิ เห็นว่ามีสัญญาก็มิใช่
ไม่มีสัญญาก็มิใช่ ตนมีที่สุดก็มิใช่ ไม่มีที่สุดก็มิใช่ |
741 |
ทิฏฐิ ๖๒ (กลุ่ม ๒) อุจเฉททิฏฐิ เห็นว่ามนุษย์-สัตว์ขาดสูญ(ไม่เกิดอีก) เทวดาที่เป็นทิพย์มีรูป-และไม่มีรูปเมื่อสิ้นชีพ ก็ขาดสูญด้วย |
742 |
ทิฏฐิ ๖๒ (กลุ่ม ๒) ทิฏฐธรรมนิพพานทิฏฐิ เห็นสภาพบางอย่างเป็นนิพพาน เช่นได้กามคุณ5 ได้ฌาน 1,2,3,4 ว่านั่นคือนิพพาน |
743 |
ทิฏฐิ ๖๒ ฐานะของผู้ถือทิฏฐิ ธรรมบรรยายนี้เรียก อรรถชาละ,ธรรมชาละ,พรหมชาละ,ทิฏฐิชาละ,พิชัยสงครามอันยอดเยี่ยม ก็ได้ |
1210 |
สถานที่อันเป็นทิพย์ ที่นั่ง นอน ยืน เดิน อันเป็นทิพย์ ถ้าเดินอยู่สมัยนั้นสถานที่ตรงนั้นก็ชื่อว่าที่เดินอันเป็นทิพย์(สงัดจากกาม-อกุศล) |
1515 |
ทิพยโสตญาณ (วิชชา ๘ ) การทำสมาธิเพื่อได้เสียงทิพย์ จิตจะต้องปราศจากกิเลส น้อมไปเพื่อทิพย์โสตญาณ |
1480 |
รวมพระสูตรเรื่อง เสียงทิพย์ (ทิพยโสตญาณ) เสียงทิพยคือเสียงของเทวดา และเสียงมนุษย์ที่อยู่ระยะไกล -แต่ได้ยิน |
|
|
5 |
ทีฆ ที่นี่ ที่สุด ทุกกร ทุกขตา ทุกขธรรม |
1428 |
ทีฆชาณุสูตร ธรรม ๔ ประการ
(และธรรม ๘ ประการ) เพื่อประโยชน์ เพื่อความสุขในปัจจุบัน |
1479 |
ทีฆนขสูตร พระผู้มีพระภาคเทศนาให้กับอัคคิเวสนะเรื่องการละธรรม พระสารีบุตรขณะนั่งถวายงานพัดได้ฟังไปด้วย เกิดจิตหลุดพ้น |
310 |
ที่นี่วุ่นวายหนอ เรื่องยสกุลบุตร (บุตรเศรษฐีมีความเบื่อหน่ายชีวิต เปล่งอุทาน ที่นี่วุ่นวายหนอ ที่นี่ขัดข้องหนอ) |
S8- 262 |
ที่สุดแห่งโลก ซึ่งสัตว์จะไม่เกิด ไม่แก่ ไม่ตาย ไม่จุติ ไม่อุบัติ |
S9- 28 |
ที่สุดแห่งโลก บทสวดความสิ้นสุดแห่งโลก ความหวั่นไหว ย่อมมี แก่บุคคล ผู้อันตัณหา และทิฏฐิ อาศัยแล้ว |
1248 |
ที่สุดของโลก คือการดับแห่งอายตนะทั้ง ๖ ... การดับสัญญา และใจ (ที่หมายรู้) คือที่สุดแห่งทุกข์ |
677 |
ที่สุดแห่งทุกข์ โรหิตัสสสูตร ... ที่สุดแห่งทุกข์ ไม่ได้มีการไป แต่อยู่ในกายที่มีสัญญาและใจนี้เท่านั้น |
1062 |
ที่สุดแห่งทุกข์..เมื่อเห็นอยู่ย่อมเบื่อหน่าย..ที่สุดแห่งทุกข์ ไม่มีการไปแต่อยู่ในกายและใจนี้ กระทำที่สุดแห่งทุกข์ด้วยวิชชา-จรณะ |
S12-43 |
ที่ปลอดภัยจากมาร บรรลุ ฌาน๑-ฌาน ๔ มารทำอะไรไม่ได้.. ล่วงรูปสัญญามารจะมองไม่เห็น... ล่วงอากาสามารติดตามไม่ได้ |
644 |
ทุกกรกิริยา- เทวดาขอร้อง การกลับมาฉันท์อาหาร ปัญจวัคคีย์หลีก เข้าฌาน ๑ - ๔, ญาณ ๓ จนบรรลุในปัจฉิมยามแห่งราตรี |
645 |
ทุกกรกิริยา เหตุที่ทำให้พระองค์กลับมาฉันท์อาหาร ด้วยเหตุ ๔ ประการ |
239 |
ทุกรกิริยา (ขบฟัน อัดเพดานด้วยลิ้น ข่มจิต บีบคอและศรีษะจนเหงื่อไหลรักแร้ กลั้นลมหายใจ.. มีเทวดามาขอร้อง) |
S4- 61 |
ทุกขตาสูตร ความเป็นทุกข์ ๓ (ทุกข์มี 3 แบบ ไม่สบายกาย เกิดจากสังขาร เกิดจากการแปรปรวน) |
S3- 23 |
ทุกขตาสูตร ความเป็นทุกข์ ๓ ทุกข์ใจ - ทุกข์จากการปรุงแต่งจิต - ทุกข์จากความเสื่อม |
341 |
ทุกขธรรมสูตร การมีธรรมะเป็นเครื่องอยู่ |
|
|
6 |
ทุกข์ |
1681-86 |
รวมพระสูตรเรื่องทุกข์ ทุกข์คือการปรุงแต่งทางจิต ..ขันธ์ ๕ เป็นทุกข์..ที่สุดแห่งทุกข์ ..ตัณหาเป็นปัจจัยแห่งกองทุกข์.. |
677 |
ทุกข์ ที่สุดแห่งทุกข์ ไม่ได้มีการไป แต่อยู่ในกายที่มีสัญญาและใจนี้เท่านั้น โรหิตัสสสูตร |
704 |
ทุกข์ ของอริยะ อภิสมยวรรคที่ ๑๐ (รวม 11 พระสูตร) ทุกข์ที่เหลือของอริยะ และการตรัสรู้ธรรม พระองค์อุปมาไว้หลายนัยยะ |
573 |
ทุกข์ คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต ไม่มีผู้กระทำไม่มีผู้ถูกกระทำ และไม่มีทั้งตนเองและผู้อื่นกระทำแต่เป็นกระแสปฏิจจสมุปปันน |
S6- 180 |
ทุกข์ ทรงสอนเฉพาะแต่เรื่องทุกข์ กับ ความดับสนิทของทุกข์ |
S1- 19 |
ทุกข์ ที่สุดแห่งทุกข์ (เห็นอยู่ ย่อมเบื่อหน่าย) |
705 |
ทุกข์ ที่เหลือของอริยะ ธาตุสังยุตต์ (รวม 10 พระสูตร) ความแตกต่างแห่งธาตุเป็นไฉน รูปธาตุ จักขุธาตุ วิญญาณธาตุ |
679 |
ทุกข์ ทุกขนิโรธสูตร ความเกิดและความดับแห่งทุกข์ อาศัยจักษุและรูป ...จมูกและกลิ่น ...ลิ้นและรส ...กายและโผฏฐัพพะ |
202 |
ทุกข์ ในมหานรก (ถูกทิ่มแทงด้วยหอกวันละ300เล่ม) |
685 |
ทุกข์ ปริวีมังสนสูตร ทุกข์นี้มีอะไรเป็นเหตุ มีอะไรเป็นสมุทัย ทุกข์นี้แลมีชาติเป็นเหตุ มีชาติเป็นสมุทัย ภิกษุย่อมรู้ความดับแห่งชรา |
424 |
ทุกข์ เป็นสิ่งที่ควรรู้ รู้จักทุกข์ เหตุเกิด ความต่างกัน รู้จักผล รู้จักความดับ รู้จักทางดำเนินให้ถึง ความดับไม่เหลือ |
145 |
ทุกข์ ผู้หลุดพ้นแล้วจากทุกข์ (ไม่เห็นรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ในความเป็นตัวตน) |
S7-197 |
ทุกข์ พระพุทธองค์ คือผู้ทรงชี้ให้รู้จักทุกข์ อุปมากระแสนํ้าเป็นชื่อ ตัณหา.. สิ่งน่ารักน่าเพลินใจ เป็นชื่อแห่งอายตนะหกใน |
578 |
ทุกข์ เพราะยึดผิด..เห็นผิดซึ่งรูปโดยความเป็นตน เห็นเวทนาสัญญาสังขารว่าเป็นตน..แต่รูปนั้นย่อมแตกสลาย ย่อมพินาศ ย่อมทุกข์ |
424 |
ทุกข์ หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับทุกข์ รู้จักทุกข์ เหตุเกิด ความต่างกัน รู้จักผล รู้จักความดับ รู้จักทางดำเนินให้ถึง ความดับไม่เหลือ |
685 |
ทุกข์ เหตุแห่งทุกข์ ปริวีมังสนสูตร ทุกข์นี้มีอะไรเป็นเหตุ มีอะไรเป็นสมุทัย ทุกข์นี้แลมีชาติเป็นเหตุ มีชาติเป็นสมุทัย |
S2- 72 |
ทุกข์ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา สิ่งใดไม่เที่ยงสิ่งนั้นเป็นทุกข์ |
|
|
7 |
ทุกขนิโรธ ทุกขสัจจ์ ทุกขสูตร ทุกขัง ทุกขา |
681 |
ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ มรรค 8 (ตาราง)สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา กัมมันตะ อาชีวะ วายามะ สัมมาสติ .. |
679 |
ทุกขนิโรธสูตร ความเกิด และ ความดับแห่งทุกข์ เพราะอาศัยจักษุและรูป ...จมูกและกลิ่น ...ลิ้นและรส ...กายและโผฏฐัพพะ |
181 |
ทุกขสัจจ์ กับ ทุกขเวทนา |
678 |
ทุกขสูตร (รวมหลายพระสูตร) ..ดิน น้ำ ไฟ ลม เป็นธาตุที่มีทุกข์เข้าไปถึง หยั่งลงถึง จึงไม่ควรยินดีในธาตุเหล่านั้น |
709 |
ทุกขอริยสัจ เป็นไฉน สัจจบรรพ ทุกขสมุทัย...ทุกขนิโรธอริยสัจ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นไฉน |
491 |
ทุกขอริยสัจ แม้ชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ...ก็เป็นทุกข์ ความประจวบ พลัดพราก โดยย่อ อุปาทานขันธ์ทั้ง ๕ เป็นทุกข์ ฯ |
S2- 73 |
ทุกขัง ความหมายของทุกขัง (เสื่อม แตกสลาย) |
615 |
ทุกขา สุขาปฏิปทา ปฏิปทาวรรคปฏิปทาเพื่อสิ้นอาสวะ(ทุกขาปฏิบัติลำบาก รู้เร็ว-รู้ช้า)(สุขา ปฏิบัติสะดวก รู้เร็ว-รู้ช้า) |
279 |
ทุกขาปฏิปทาฯ ปฏิปทา ๔ ประการ ปฏิบัติลำบากรู้ช้า-ทุกขาปฏิปทารู้เร็ว-สุขาปฏิปทาฯ ปฏิบัติสะดวกรู้ช้า ) |
|
|
8 |
ทุคติ ทุติยวรรค ทุติยสังโยชน์ ทุศีล ทูตนำข่าว |
388 |
ทุคติ เหตุให้ทุคติปรากฎ ความไม่สะอาดทางกาย วาจา ใจ หรืออกุศลกรรมบท10 เป็นเหตุให้ นรก เดรัจฉาน เปรตวิสัย ปรากฏ |
S12-41 |
ทุจริต 3 สุจริต3 ละทุจริต3 เจริญสุจริต3 ดำรงอยู่ในศีล แล้วเจริญสติปัฏฐาน ๔ (ทุจริตสูตร) |
771 |
ทุติยวรรคที่ ๒ ธรรม ๑๐ ๒๐ ๓๐ ๔๐ ประการ (กุศลกรรมบถ ๑๐ ๒๐ ๓๐ ๔๐ ) ผู้ถูกทอดทิ้งในนรกนรก และผู้ถูกเชิญมาไว้ในสวรรค์ |
688 |
ทุติยสังโยชนสูตร ความพอใจเป็นปัจจัยแห่งสังโยชน์ อุปมาน้ำมัน ประทีปและใส้ ที่ถูกเติมให้ลุกโพลงตลอดเวลา..ตัณหาย่อมเจริญ |
1408 |
ทุติยปัณณาสก์ (ธรรมที่เป็นบาปอกุศล)... (ธรรม ๒ อย่าง) ...(คนพาล ๒ จำพวก บัณฑิต ๒ จำพวก) |
1394 |
ทุติยปัณณาสก์ บุคคล ๒ จำพวกเมื่อเกิดขึ้นย่อมเกื้อกูล คือพระพุทธเจ้า+ พระจักรพรรดิ และย่อมเป็นอัจฉริยะ พระพุทธเจ้า+ ปัจเจก |
548 |
ทุศีล อักโกสกสูตร โทษของคนทุศีล ศีลวิบัติ ๕ ประการ เสื่อมทรัพย์ ศีลวิบัติย่อมฟุ้งไป ไม่องอาจ ตายไปย่อมเข้าถึง อบาย- นรก |
920 |
ทูตนำข่าว.. ทรงห้ามภิกษุ ไม่ทำตัวเป็นทูตนำข่าว ให้ไปที่นั้นๆ ไม่ให้รับใช้กษัตริย์ รับใช้พระราชา รับใช้พราหมณ์ รับใช้คหบดี |
1432 |
ทุสสีลสูตร ธรรมของภิกษุ ผู้ถึงพร้อมด้วยศีล และธรรมของภิกษุ ผู้มีอุปนิสัยขาดแล้ว (วิบัติ) |
|
|
9 |
เทวดา เทวดาเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า |
1058 |
เทวดามีจริงหรือ พรหมมีจริงหรือ พระเจ้าปเสนทิโกศล ถามพ. เทวดามีทุกข์ พรหมมีทุกข์ ย่อมมาสู่โลกนี้ ไม่มีทุกข์ย่อมไม่มา |
884 |
เทวดา ชุมนุมเทวดา 10 โลกธาตุ มหาสมัยสูตร เทวดาจากโลกธาตุทั้ง 10 เข้าเฝ้า เพื่อทัสนาพระพุทธเจ้า และสาวก |
1042 |
เทวดา มหาสมัยสูตร ประชุมเทวดา เทวดาจากโลกธาตุทั้ง ๑๐ ประชุมกันเพื่อทัศนา พระผู้มีพระภาค และ ภิกษอรหันต์ ๕๐๐ รูป |
114 |
เทวดา และ มนุษย์ ความแตกต่าง (เทวดามีอายุทิพย์...ฯลฯ มนุษย์เป็นผู้กล้า..ฯลฯ) |
644 |
เทวดาขอร้อง-ทำทุกกรกิริยา การกลับมาฉันท์อาหาร ปัญจวัคคีย์หลีก เข้าฌาน ๑ - ๔, ญาณ ๓ จนบรรลุในปัจฉิมยามแห่งราตรี |
239 |
เทวดาขอร้อง-ทุกรกิริยา (ขบฟัน อัดเพดานด้วยลิ้น ข่มจิต บีบคอและศรีษะจนเหงื่อไหลรักแร้ กลั้นลมหายใจ |
133 |
เทวดา คติของเทวดา เทวดาเมื่อตายไปแล้วปราถนาสิ่งใด (ปราถนามาเกิดเป็นมนุษย์) |
1512 |
เทวดา 9 จำพวก เข้าเฝ้าฯ เล่าเรื่องสมัยเป็นมนุษย์ว่าได้กระทำอะไรบ้าง จึงส่งผลต่อวิบากกรรมทำให้เเข้าถึงเทวดาเลว-ปราณีต |
S13-19 |
เทวดาจิตที่เสมอกัน ๑๐ องค์บ้าง ..๖๐ องค์บ้าง ยืนอยู่แม้ปลายเหล็กแหลม แต่ไม่เบียดกัน |
131 |
เทวดาชั้นดาวดึงส์ กับ มนุษย์ (เทวดาไม่มีทุกข์ ไม่หวงแหน อายุแน่นอน .. มนุษย์ ผู้กล้า มีสติ มีพรหมจรรย์อันเยี่ยม) |
348 |
เทวดาชั้นพรหม-อายุ (ระดับของสมาธิ ๙ ระดับ.. รูปสัญญา ฌาน 1-4 / อนาคามี 5 ระดับ/ อรูปสัญญา 5 ระดับ) |
365 |
เทวดาชั้นพรหม สังขารูปปัตติสูตร เทวดาพรหม 16 ชั้น + สุทธาวาส 5 ชั้น รวม 21 ชั้น |
118 |
เทวดาตาย จะมีอาการ 5 อย่าง (ผิวพรรณ-อาภรณ์เศร้าหมอง ดอกไม้เหี่ยวเฉา เหงื่อออกรักแร้...) |
S2- 74 |
เทวดาตาย จะมีอาการ 5 อย่างดังนี้ เหงื่อออกรักแร้.. |
697 |
เทวดา บันลือเสียงทั่วทั้งโลกธาตุ ปฐมเทศนา ธัมมจักกัปปวัตตนสูต กามสุข..อริยสัจสี่..มรรค8 ทางสายกลาง.. ญาณทัสสนะ |
592 |
เทวดาปลอมตัว ปิณฑปาตสูตร ท้าวสักกะจอมเทวดาชั้นดาวดึงส์ปลอมตัวเป็นชาวบ้านเพื่อรอตักบาตรกับ พระมหากัสสป |
787 |
เทวดาตรวจดูโลกในวันอุโบสถ มนุษย์ทำบุญมาก-น้อย มีผลต่อเทวดาชั้นดาวดึงส์ ทำบุญน้อยกายจะเสื่อม |
S5- 119 |
เทวดา (ชั้นเทวดาทุกภพ) เทวดาชั้นกามภพ 6 ชั้น รูปพรหม หรือรุปภพ 16 ชั้น อรูปพรหมหรืออรูปภพ 4 ชั้น |
386 |
เทวดา : ชั้นเทวดา : จากแผนภูมิพุทธวจน และฉบับหลวง |
152 |
เทวดาแต่ละชั้น -เทียบเวลา กับโลกมนุษย์ (50 ปีมนุษย์คือ1คืนเทวดาจาตุมหาฯ. 1600 ปีมนุษย์ คือ1วัน1คืน |
349 |
เทวดามี ๓ ชั้น กามภพ รูปภพ อรูปภพ มีอายุขัย และเสพกามต่างกัน |
386 |
เทวดา อายุของเทวดาแต่ละชั้น การแบ่งกัปตามจำนวนการอุบัติของพระพุทธเจ้า.. กัปพระพุทธเจ้ามี 5 กัป |
1478 |
คำนวณอายุ เทวดากามภพ เทียบกับุมนุษย์ (จาตุมหา อายุ 500 ปีทิพย์ คิดเป็น 9 ล้านปีมนุษย์) (50*30*12*500) |
394 |
เทวดาที่สิงในต้นไม้ คนธรรพ์ คือเทวดาที่สิงอยู่ในต้นไม้ที่มีกลิ่นที่ราก ที่แก่น ที่กะพี้ ที่เปลือก กะเทาะ ใบ ดอก ผล รส กลิ่น |
1366 |
ดอกไม้เทวดา ปาริฉัตตกพฤกษ์ ดอกไม้ชั้นดาวดึงส์ บานเต็มที่แผ่รัศมีไป ๕๐ โยชน์ ส่งกลิ่นตามลม ๑๐๐ โยชน์ (1600 กม) |
787 |
เทวดา ราชสูตรที่ ๑ มนุษย์ทำบุญมาก-น้อย มีผลต่อเทวดาชั้นดาวดึงส์ ทำบุญน้อยกายจะเสื่อม |
S5-100 |
เทวดา และ มนุษย์ เป็นทุกข์เพราะติดอยู่ในอายตนะ มีรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ มีธรรมเป็นที่มายินดี |
1260 |
เทวดา พ. ทูลถามหัตถกเทพบุตร (เทวดา) ว่า ธรรมมะที่มีแก่ท่านสมัยยังเป็นมนุษย์ บัดนี้ยังเป็นไปแก่ท่าน(ในภพเทวดา)อยู่หรือ |
1569 |
เทวดานับเนื่องในหมู่วลาหก มี ๕ พวก (สีตวลาหก อุณห.. อัพภ.. วาต..วัสสวลาหก)..เหตุปัจจัยให้เข้าถึงเหล่าเทวดาในชั้นนี้ |
1570 |
เทวดานับเนื่องในหมู่วลาหก สีตวลาหก บันดาลความหนาว.. อุณห ความร้อน...อัพภ เมฆหมอก..วาต ลม ..วัสส บันดาลฝน |
159 |
เทวดา สุคติของเทวดา (คือการได้เกิดมาเป็นมนุษย์ ได้พบพระสัทธรรม จิตตั้งมั่นในพระสัทธรรม) |
1493 |
เทวดาสุสิมเทพบุตร กับพระอานนท์ สรรเสริญพระสารีบุตรว่า มีปัญญาหลักแหลม มีปัญญาแทงตลอด |
582 |
เทวดา อสูร ปะทะคารม ภาษิตชยสูตรที่ ๕ เรื่องการกำจัดคนพาลด้วยความอดกลั้น ใช้ขันติ ทำให้ไม่เกิดการทะเลาะวิวาท |
1301 |
เทวดารบกับอสูร 6 ครั้ง ครั้งที่ 1 2 3 อสูรชนะ ครั้งที่ 3 4 5 เทวดาชนะ |
1355-65 |
รวมชุด เทวดาสนทนาธรรม กับพระพุทธเจ้า รวม 111 พระสูตร |
|
|
10 |
เทวดาเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า |
833 |
เทวดา เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า ถามข้อธรรมต่างๆ พระองค์ข้ามโอฆะได้อย่างไร .. เราไม่พักอยู่ ไม่เพียรอยู่ ข้ามโอฆะได้แล้ว |
834 |
เทวดา กล่าวถวายพระคาถาฯ เทวดาเปล่งอุทาน บุคคลควรสมาคมกับพวกสัตบุรุษ ควรทำความสนิทสนม กับพวกสัตบุรุษ |
835 |
เทวดา ชั้นพรหม ฆฏิกรสนทนากับพระผู้มีพระภาค |
1418 |
รวมพระสูตร พระพุทธเจ้า กับเทวดา |
|
1. ในการก้าวลงสู่ครรภ์มารดา มีเทพบุตรทำการอารักขาในทิศทั้งสี่
2. เมื่อโพธิสัตว์ออกมาจากท้องมารดา เทวดาเข้ารับก่อน
3. เมื่อครั้งทรงอดอาหาร เทวดาขอร้องอย่าอดเลย ไม่เช่นนั้นจะแทรกโอชาทิพย์ลงตามขุมขน
4. เมื่อครั้งตรัสรู้ พรหมทราบวาระจิตของพระผู้มีพระภาค แล้ววิตกว่าโลกจักฉิบหายหนอ
5. เมื่อทรงประกาศธรรมจักรแก่ปัญจวัคคีย์ เหล่าเทวดาบันลือเสียงต่อกันเป็นทอดๆ
6. เทวดาเป็นอันมากเข้าเฝ้าฯเพื่อกล่าวคาถา
7. มหาสมัยสูตร พระสูตรชุมนุมเทวดาจากโลกธาตุทั้ง ๑๐
8. เสด็จไปพบเทวดาชั้นสุทธาวาส ทำให้ทราบเรื่องราวของพระพุทธเจ้าในอดีต
9. ท้าวสักกะจอมเทพ ทูลถามปัญหากับพระผู้มีพระภาค
10.พรหมตัสสะมีญาณหยั่งรู้อุปาทานขันธ์ที่เหลืออยู่ของมนุษย์
11.พระพุทธเจ้าพาเจ้าชายนันทะ ไปดูนางอัปสรถึงชั้นดาวดึงส์
12.เทวดาตรวจดูโลกในวันอุโบสถ มนุษย์ทำบุญมาก-น้อย มีผลต่อเทวดาชั้นดาวดึงส์
13.เสด็จไปปรากฎในชั้นพรหมด้วยพรหมองค์หนึ่งเกิดทิฐิอันชั่วช้า
ฯลฯ |
|
|
11 |
เทวตา เทวทูต เทศนา เทวทัต |
261 |
เทวตาสูตร (เทวดาตนหนึ่ง มีรัศมีจนสว่างไปทั่ววิหารเชตวัน มาพบพระพุทธเจ้า พร้อมกล่าวธรรม 6 ประการ) |
1512 |
เทวตาสูตร เทวดาเป็นอันมากเข้าเฝ้าฯ ต่างเล่าการปฏิบัติตนในสมัยเป็นมนุษย์ ส่งผลต่อวิบากรรมในภพเทวดา |
620 |
เทวทูตสูตร โทษในนรก เรื่องที่ตถาคต รู้เอง เห็นเอง ปรากฏเอง เป็นผลจากการกระทำของเราโดย กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม |
848 |
เทศนาสูตร เหตุใดพระผู้มีพระภาคทรงแสดงธรรมแก่คนบางพวก อุปมาเหมือนการหว่านพืช ทรงเลือกนาดี (ไม่เลือกนาเลว) |
1116 |
เทศนาสูตร พ.จะแสดงธรรมให้บุคคลจำพวกใดก่อน ทรงอุปมาชาวนาหว่านกล้าว่าจะเลือกนาไหนก่อน นาดี ปานกลาง หรือนาเลว |
|
รวมเรื่องพระเทวทัต |
985 |
พระเทวทัต ตอนที่ ๑ เรื่องวัตถุ ๕ ประการ พระเทวทัต ขอให้พระองค์บัญญัติเป็นวินัยสงฆ์ แต่ทรงไม่อนุญาต.. จึงไปโพนทะนา |
986 |
พระเทวทัต ตอนที่ ๒ พระพุทธเจ้าตำหนิสงฆ์ ที่ประพฤติตามพระเทวทัต ทรงบัญญัติ สิกขาบทวิภังค์ ให้ภิกษุดูแลกัน ให้เตือนกัน |
987 |
พระเทวทัต ตอนที่ ๓ พระเทวทัต พร้อมหมู่สงฆ์ เที่ยวขออาหารมาฉัน ทรงติเตียน และทรงบัญญัติ ห้ามภิกษุฉันรวมกันเป็นหมู่ |
988 |
พระเทวทัต ตอนที่ ๔ พระเทวทัตสวดปาติโมกข์ในบริษัท ที่มีคฤหัสถ์ปนอยู่ด้วย พ.ห้าม รูปใดสวด ต้องอาบัติทุกกฏ |
989 |
พระเทวทัต ตอนที่ ๕ ตระกูลศากยะออกบวช อนุรุธะ (ได้ทิพย์จักษุ) อานนท์(สำเร็จโสดาบัน) เทวทัต (สำเร็จฤทธิ์ชั้นปถุชน) |
990 |
พระเทวทัต ตอนที่ ๖ พระเทวทัต แสดงฤทธิ์ แปลงร่างเป็นกุมารน้อย จากนั้นมีความคิด ที่จะปกครองสงฆ์ แทนพระพุทธเจ้า |
991 |
พระเทวทัต ตอนที่ ๗ อชาตสัตตลอบปลงพระบิดา พระเทวทัตลอบปลง พ. ส่งคนมือธนู ทุ่มหิน ปล่อยช้างนาฬาคิรี |
992 |
พระเทวทัต ตอนที่ ๘ ปกาสนียกรรม ประกาศการกระทำ(ประจาน)ของพระเทวทัต ว่าประพฤติ กาย วาจา ใจ ต่างจากเมื่อก่อน |
993 |
พระเทวทัต ตอนที่ ๙ เทวทัตพาภิกษุใหม่ ๕๐๐ รูปไปคยาสีสะ พระสารี-พระโมคพากลับ ทำให้โลหิตพุ่งออกจากปากพระเทวทัต |
994 |
พระเทวทัต ตอนที่ ๑๐ พระเทวทัตไปเกิดในอบายเพราะไม่เห็นธรรมขาวแม้ปลายขนทราย ต้องเกิดในอบายตลอดกัปเยียวยาไม่ได้ |
995 |
พระเทวทัต ตอนที่ ๑๑ ประวัติพระเทวทัต(จากวิกิพีเดีย) ภาพปัจจุบันที่เชื่อว่าพระเทวทัตถูกธรณีสูบ หน้าวัดเชตวัน เมืองสาวัตถี |
|
|
11 |
โทณพราหมณ์ โทณสูตร |
S4- 48 |
โทณพราหมณ์ (ท่านผู้เจริญของเรา ! ท่านเป็นเทวดาหรือ?)(เทวดาก็ไม่ใช่ มนุษย์ก็ไม่ใช่ . เราเป็นพุทธะ) |
606 |
โทณสูตร ท่านเป็นเทวดาหรือ..? เราไม่ได้เป็นเทวดาดอก อาสวะเหล่านั้น เราละแล้ว ตัดรากขาดแล้ว เป็นดุจตาลยอดด้วน |
676 |
โทณสูตร พระสมณะโคดม ไม่อภิวาท ไม่ลุกรับ หรือไม่เชื้อเชิญด้วยอาสนะ ซึ่งพราหมณ์ ผู้แก่เฒ่า |
|
|