|
|
1 |
ธรรม ธรรมปิติ |
879 |
* การสนทนาธรรม ที่ทำให้เกิดปิติ ระหว่าง ธรรมทินนาภิกษุณี กับ วิสาขา-อุบาสก (จูฬเวทัลลสูตร) |
362 |
* การสนทนาธรรม ที่ทำให้เกิดปิติ ระหว่าง พระสารีบุตร กับ พระมหาโกฏฐิกะ (มหาเวทัลลสูตร) |
1432 |
ธรรม ของภิกษุ ผู้ถึงพร้อมด้วยศีล และธรรมของภิกษุ ผู้มีอุปนิสัยขาดแล้ว (วิบัติ) |
1556 |
รวม 12 พระสูตร "แสดงธรรมโดยย่อ" ขอ พ.โปรดแสดงธรรมโดยย่อที่ข้าพระองค์ได้ฟังแล้วพึงเป็นผู้ๆเดียว หลีกออกจากหมู่ |
S13-14 |
ธรรมที่เป็นอกุศล และธรรมที่เป็นกุศล |
1726 |
ธรรมเครื่องอยู่เป็นสุข ภิกษุเข้าถึง ปฐมฌาน... จตุตถฌาน / ธรรมเครื่องอยู่สงบ ภิกษุเข้าถึง อากาสา..เนวสัญญา |
1542 |
ธรรม ที่ไม่ประกอบด้วยกาล (อกาลิโก) ตรัสกับคามณี เรื่องธรรม ๓ อย่าง คือ ราคะ(กำหนัด) โทสะ(โกรธ) โมหะ(โลภ) |
554 |
ธรรม มีประเภทละ ๓ อกุศลมูล๓ กุศลมูล๓ ทุจริต๓ สุจริต๓ อกุศลวิตก๓ อกุศลสังกัปปะ๓ กุศลสังกัปปะ๓ อกุศลสัญญา๓.... |
1448 |
ธรรม อันเป็นเครื่องสนุกสนานชอบใจของตถาคต 1.วิชชาและวิมุตติ 2.โพชฌงค์๗ 3.สติปัฏฐาน๔ 4.สุจริต๓ 5.อินทรีย์สังวร |
1302 |
ธรรมอันผู้บรรลุจะพึงเห็นเอง เพียงเท่าไรหนอ ธรรมอันผู้บรรลุจะพึงเห็นเอง (สันทิฏฐิกสูตรที่ ๑) |
S3-6 |
ธรรมชาติ ๓ อย่าง ทำให้พระองค์เกิดขึ้นเป็นประทีปของโลก คือ ชาติด้วย ชราด้วย มรณะ |
162 |
ธรรมชาติ ที่ไม่ถูกปรุงแต่ง มีอยู่ (อชาตสูตร) ธรรมชาติที่ไม่ถูกปรุงแต่ง มีอยู่ (อสังขตาธาตุ) |
|
|
2 |
ธรรม ๔ - ๔๐ ประการ |
1428 |
ธรรม ๔ ประการ เพื่อประโยชน์สุขในปัจจุบัน 1.ขยัน 2.ได้ทรัพย์โดยชอบธรรม 3.เป็นกัลยาณมิตรที่ดี 4.ใช้ทรัพย์อย่างพอเหมาะ |
1428 |
ธรรม ๔ ประการ เป็นไปเพื่อประโยชน์เพื่อความสุขแก่กุลบุตร 1.สัทธาสัมปทา 2.สีลสัมปทา 3.จาคสัมปทา 4.ปัญญาสัมปทา |
935 |
ธรรม ๔ ประการ (อนุพุทธสูตร) ศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติ ที่เป็นอริยะ เราได้ตรัสรู้แล้ว ถอนตัณหาได้แล้ว ตัณหาสิ้นไปแล้ว |
936 |
ธรรม ๔ ประการ (ปปติตสูตร) ผู้ประกอบด้วยและผู้ไม่ประกอบด้วย คือ ศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติ เรียกว่าผู้ตกไปจากธรรมวินัยนี้ |
937 |
ธรรม ๔ ประการ (ขตสูตร) ไม่ใคร่ครวญสืบสวนให้รอบคอบแล้วกล่าวสรรเสริญคุณของผู้ไม่ควร สรรเสริญ |
1070 |
ธรรมสมาทาน ๔ อย่าง สุข-ทุกข์ปัจจุบัน สุข-ทุกข์เป็นวิบาก เหตุเพราะไม่รู้ธรรม-รู้ธรรมที่ควรเสพ และเห็นอย่างถูกต้อง |
1071 |
ธรรมสมาทาน ๔ อย่าง-อุปมา ๕ ข้อ เหมือนน้ำเต้าขมปนด้วยยา.. น้ำหวานปนยาพิษ.. ของมูตรเน่า..น้ำผึ้งเนยใส ..อากาศอันโปร่ง |
1142 |
ธรรมสมาทาน ๔ อย่าง คือ 1.แบบสุขปัจจุบัน..มีทุกข์เป็นวิบาก 2.ทุกข์ปัจจุบัน.. ทุกข์เป็นวิบาก 3. ทุกข์ปัจจุบัน.. สุขเป็นวิบาก |
858 |
ธรรม ๕ ประการ เป็นเครื่องทำความเคารพพระศาสดา ..ความเป็นผู้มีอาหารน้อย..จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ จีวร ความสงัด |
S3-9 |
ธรรม ๖ ประการ ที่ภิกษุต้องละ (มานะถือตัว ...เย่อหยิ่ง ความเข้าใจผิด ความหัวดื้อ...) |
1333 |
ธรรม อย่างละ ๖ อย่าง อนุตตริยะ ๖ อย่าง อนุสสติฐาน ๖ อย่าง สตตวิหาร ๖ อย่าง อภิชาติ ๖ อย่าง นิพเพธภาคิยสัญญา ๖ อย่าง |
1334 |
ธรรม มีอย่างละ ๗ อย่าง อริยทรัพย์ ๗ อย่าง โพชฌงค์ ๗ บริขารของสมาธิ ๗ อสัทธรรม ๗ สัทธรรม ๗ อย่าง สัปปุริสธรรม ๗ อย่าง |
1335 |
ธรรม มีอย่างละ ๘ อย่าง มิจฉัตตะ ๘ อย่าง สัมมัตตะ ๘ อย่าง ทักขิเณยยบุคคล ๘ กุสีตวัตถุ ๘ อารัพภวัตถุ ๘ อย่าง |
771 |
ธรรม ๑๐ ๒๐ ๓๐ ๔๐ ประการ (กุศลกรรมบถ ๑๐ ๒๐ ๓๐ ๔๐ ) ผู้ถูกทอดทิ้งในนรกนรก และผู้ถูกเชิญมาไว้ในสวรรค์ |
588 |
ธรรม ๑๐ ประการ ผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการที่ควรเสพ และไม่ควรเสพ บุคคลผู้ประกอบด้วยกุศลกรรมบถ ๑๐ ควรเสพ |
|
|
3 |
ธรรมกถึก ธรรมจักร ธรรมชั้นลึก ธรรมญาณ ธรรมดำ ธรรมขาว |
832 |
ธรรมกถึก ภิกษุธรรมกถึก แสดงธรรมเพื่อคลายกำหนัด ดับชรามรณะ หรือ ดับอุปาทาน ตัณหา เวทนา ผัสสะ สฬายตนะ นามรูป.. |
179 |
ธรรมจักร ทรงประกาศธรรมจักรที่อิสิปตนมฤคทายวัน (ประกาศ ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ) |
362 |
ธรรมชั้นลึก สุดยอดการสนทนา มหาเวทัลลสูตร (ท่านพระมหาโกฏฐิกะ สนทนาธรรมกับพระสารีบุตร) |
519 |
ธรรมญาณ อันวยญาณ ธัมมญาณ คือญาณในธรรม - อันวยญาณ คือญาณในการรู้ตาม ญาณคือความรู้ รู้ชัดในอริยสัจสี่ รู้ชัดว่าชรา มรณะ |
224 |
ธรรมดำ ธรรมขาว อุทกสูตร (ธรรมดำ-ธรรมขาว, กุศล-อกุศล) |
225 |
ธรรมดำ ธรรมขาว-สมิทธิสูตร (ธรรมดำ-ธรรมขาว, กุศล-อกุศล) |
|
|
4 |
ธรรมทายาท ธรรมที่ควรรู้ ธรรมที่ไม่มีแก่เรา |
S7-206 |
ธรรมทายาท ทรงขอให้สาวกเป็นธรรมทายาท (รับมรดกธรรม) อย่าเป็นอามิสทายาท(รับมรดกสิ่งของ) |
533 |
ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้เจริญ ควรทำให้แจ้ง รู้ขันธ์5 ละอวิชชา- ภวตัณหา เจริญสมถะวิปัสนา แจ้งวิชชาวิมุตติ |
803 |
ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ-ควรทำให้เจริญ- ควรทำให้แจ้ง คือ/อุปาทานขันธ์ ๕/อวิชชา-ภวตัณหา/สมถะ-วิปัสสนา/วิชชา-วิมุตติ |
212 |
ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้เจริญ ควรทำให้แจ้ง (นัยที่ ๑) และ (นัยที่ ๒) |
298 |
ธรรมที่ควรรู้ ว่าด้วยธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้แจ้ง ควรทำให้เจริญ อาคันตุกาคารสูตร |
1636 |
ธรรมที่ควรละ (สุตมยญาณ) ธรรมหนึ่งที่ควรละคือ อัสมิมานะ(ถือตัว) ธรรม2 ที่ควรละ คืออวิชชาและตัณหา ธรรม3 ถึงธรรม10ที่ควรละ |
998 |
ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ : ๑.มีปัญญา ๒.มีสัจจะ ๓.มีจาคะ ๔.มีอุปสมะ (ความสงบ ความระงับ) |
384 |
ธรรมที่ควรใส่ใจโดยแยบคาย สีลสูตร และ สุตวาสูตร ว่าด้วยห็นความไม่เที่ยง เห็นความไม่มีตัวตน ในอุปาทานขันธ์5 |
S1-23 |
ธรรมที่คัดง้างไม่ได้ ข่มขี่ไม่ได้ ธรรมอันเราแสดงแล้วว่า “เหล่านี้ คืออริยสัจทั้ง ๔” |
696 |
ธรรมที่ไม่อาจถูกติเตียน ผัสสายตนะ ๖ ... มโนปวิจาร ๑๘ ... อริยสัจ ๔ ...ธาตุ ๖ |
1529 |
ธรรมที่ไม่มีกิเลส ธรรมที่ไม่มีข้าศึก (อรณวิภังคสูตร) ดูกรภิกษุ ท. เราจักแสดง อรณวิภังค์ แก่เธอทั้งหลาย |
316 |
ธรรมที่ไม่มีแก่เรา ย่อมมี ที่มีแล้ว ย่อมเสื่อมไป อนุปทวรรค พระศาสดาตรัสชม สารีบุตรเป็นบัณฑิต มีปัญญามาก |
1111 |
ธรรมที่เป็นบาปอกุศล มีเหตุเกิดจึงเกิดขึ้น ไม่มีเหตุเกิดย่อมไม่เกิด นัยยะแห่งขันธ์ 5 ...ธรรมที่เป็นบาปมีรูปจึงเกิดขึ้น ไม่มีรูปไม่เกิด |
291 |
ธรรมเทศนา ให้กับช่างปั้นหม้อ ปุกกุสาติ เรื่องธาตุ ๖ มีแดนสัมผัส ๖ มีความหน่วงนึกของใจ ๑๘ |
1131-40 |
ธรรมที่มีอุปาระมาก (แสดงโดยพระสารีบุตร) ธรรมอย่างหนึ่ง ธรรม ๒ อย่าง ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ อย่าง |
|
|
5 |
ธรรมราชา ธรรมปริยาย ธรรมวาที ธรรมสมาทาน ธรรมสายกลาง |
1060 |
ธรรมราชา คุณธรรมของราชา… กษัตริย์แม้มีทรัพย์มากก็ไม่พ้นชรามรณะ.. ต้องมีธรรมราชา...โสดาบันประเสริฐกว่าจักรพรรดิ |
1300 |
ธรรมบรรยายที่ไพเราะ สัญญาเครื่องเนิ่นช้า เหตุแห่งการทะเลาะ (มธุปิณฑิกสูตร) สัญญาเครื่องเนิ่นช้าครอบงำบุรุษ ย่อมเพลิดเพลิน |
746 |
ธรรมปริยายสูตร อุปบัติคด อุปบัติตรง อุปบัติคดคือกายกรรม-วจีกรรม-มโนกรรมคด คติและอุบัติย่อมคด.. อุปบัติตรงสุขส่วนเดียว |
535 |
ธรรมย่อมไหลไปสู่ธรรม ผู้รู้เห็นตามเป็นจริง ไม่ต้องทำเจตนาว่า ขอเราจงเบื่อหน่ายเถิด. เพราะเห็นเป็นธรรมดา |
748 |
ธรรมย่อมไหลไปสู่ธรรม-เจตนาสูตร ธรรมทั้งหลายย่อมไหลไปสู่ธรรมทั้งหลายให้บริบูรณ์เพื่อถึงฝั่งนิพพาน |
657 |
ธรรมวาที - อธรรมวาที ๑๘ ประการ ให้ภิกษุแสดงสิ่งพระองค์บัญญัติ ว่าบัญญัติ ประพฤติมาว่าประพฤติมา |
783 |
ธรรม (สนิทานสูตร) ว่าด้วยธรรมที่เป็นต้นเหตุ |
507 |
ธรรมอันงามในเบื้องต้น-สุขตวินิโย ระเบียบถ้อยคำของพระสุคต พระสุคตย่อมแสดงธรรม อันงามในเบื้องต้น ท่ามกลาง ที่สุด |
293 |
ธรรมอันยิ่งยวดของมนุษย์ เกวัฏฏสูตร เกวัฏฏ (ชาวประมง) ถามพระพุทธองค์เรื่องอิทธิปาฏิหาริย? อันเป็นธรรมยิ่งยวด |
341 |
ธรรมะเป็นเครื่องอยู่ - ทุกขธรรมสูตร การมีธรรมะเป็นเครื่องอยู่ |
684 |
ธรรมสายกลาง สิ่งทั้งปวง มีอยู่หรือหนอ นี้เป็นทิฐิแห่งโลกที่หนึ่ง.. ตถาคตแสดงธรรมสายกลาง ไม่เข้าใกล้ส่วนสุด |
|
|
6 |
ธนัญ ธรรมิก ธัม ธัมมจักกัป ธัมมานุสารี |
1107 |
ธนัญชานี สูตรที่ ๑ บุคคลฆ่าอะไรได้ ย่อมนอนเป็นสุข...ฆ่าความโกรธ |
675 |
ธรรมิกสูตร เมื่อพราหมณ์ และคฤหบดีไม่ตั้งอยู่ในธรรม..ชาวนิคมก็ไม่ตั้งอยู่ในธรรม.. พระจันทร-พระอาทิตย์หมุนเวียนไม่สม่ำเสมอ |
1164 |
ธรรมิกสูตรที่ ๑๔ ว่าด้วยข้อปฏิบัติของนักบวชและผู้ครองเรือน ธรรมของบรรพชิต ธรรมของคฤหัสถ์ (อุโบสถ ๘ ประการ) |
1351 |
ธัมมัญญูสูตร ผู้มีธรรม ๗ ประการ เป็นนาบุญของโลก ฯ 1. รู้จักธรรม 2.รู้จักอรรถ 3.รู้จักตน 4.รู้จักประมาณ 5.รู้จักกาล 6. รู้จักบริษัท |
697 |
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร (ปฐมเทศนา) กามสุข..อริยสัจสี่..มรรค8 ทางสายกลาง.. ญาณทัสสนะ..เทวดาบันลือเสียงทั่วทั้งโลกธาตุ |
S5- 116 |
ธัมมานุสารี(ธรรมานุสารี) สัทธานุสารี (โดยสรุป) |
1036 |
ธัมมานุสารี สัทธานุสารี อีกนัยยะหนึ่ง ผู้แล่นไปตามธรรม ผู้แล่นไปตามศรัทธา |
S2- 70 |
ธัมมานุสารี สัทธานุสารี (รู้ขันธ์5 ไม่เที่ยง รับประกันความตาย) |
409 |
ธัมมานุสารีบุคคล สัทธานุสารี (โดยละเอียด) พิจารณาความไม่เที่ยงของขันธ์ 5 |
1417 |
ธัมมานุสารี สัทธานุสารี ย่อมเห็นใน 10 แง่มุมนี้ ว่าเป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน (พร้อมผังประกอบ) |
|
|
7 |
ธาตุ-คู่บุพเพ ธาตุ ๔ ๕ ๖ ๗ ธาตุ ๑๘ ธาตุวิภังค์ ธาตุสังยุตต์ |
136 |
ธาตุ คู่บุพเพสันนิวาส (ศรัทธา ศีล จาคะ ปัญญา เสมอกัน) |
155 |
ธาตุ สัตว์ย่อมคบกันด้วยธาตุ-สตาปารัทธสูตร (สัตว์ทั้งหลายย่อมคบค้ากัน สมาคมกัน โดยธาตุคนเลวย่อมสมาคมกับคนเลว ) |
711 |
ธาตุ สัตว์ย่อมคบค้ากัน ย่อมสมาคมกันโดยธาตุเทียว (หลายพระสูตร เรื่องธาตุ) แม้ในอดีต ในอนาคต และปัจจุบัน |
710 |
สัตว์ย่อมคบค้าสมาคมกันโดยธาตุ จังกมสูตรสัตว์ พระสารีบุตรเดินจงกรมกับผู้มีปัญญา พระเทวทัตเดินกับผู้มีความปรารถนาลามก |
538 |
ธาตุ ๔ รายละเอียดของธาตุสี่ 1.ปฐวีธาตุ -ธาตุดิน 2.อาโปธาตุุ-ธาตุน้ำ 3.เตโชธาตุ-ธาตุไฟ 4.วาโยธาตุ-ธาตุลม |
999 |
ธาต ๖ คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิญญาณธาตุ |
S8-275 |
ธาตุ ๖ อย่าง ภิกษุผู้ฉลาดในธาตุ ธาตุ 6 อย่าง (1) ธาตุ 6 อย่าง(2) ธาตุ 6 อย่าง(3) |
782 |
ธาตุ ๗ ประการ สัตตธาตุสูตร.. ว่าด้วยธาตุ ๗ ประการ |
706 |
ธาตุ ๗ ประการ สัตติมสูตร อาภาธาตุ สุภาธาตุ อากาสานัญจา วิญญา อากิญ เนวสัญญา สัญญาเวทยิต อาศัยการเกิดตามปฏิจจ |
325 |
ธาตุ ๑๘ ภิกษุผู้ฉลาดในธาตุ ๑๘ อย่าง (ธาตุ 18 อย่าง ธาตุ 6 อย่าง ธาตุ 3 อย่าง) |
599 |
ธาตุสูตร (นิพพานธาตุ 2 ประการ) สอุปาทิเสสนิพพานธาตุ กับ อนุปาทิเสส ความแตกต่างของอรหันต์ 2 ประเภท |
678 |
ธาตุ- ทุกขสูตร (รวมหลายพระสูตร) ..ดิน น้ำ ไฟ ลม เป็นธาตุที่มีทุกข์เข้าไปถึง หยั่งลงถึง จึงไม่ควรยินดีในธาตุเหล่านั้น |
678 |
ธาตุที่ทุกข์เข้าไปถึง ทุกขสูตร(รวมหลายพระสูตร) ..ดิน น้ำ ไฟ ลม เป็นธาตุที่มีทุกข์เข้าไปถึง จึงไม่ควรยินดีในธาตุเหล่านั้น |
603 |
ธาตุภาชนียกถา ว่าด้วยการแบ่งพระบรมสารีริกธาตุ (หลังถวายพระเพลิง) แบ่งให้กับเมืองต่างๆ พรหมโลก และจักรวาล |
518 |
ธาตุวิภังค์ 6..แสดงธรรมแก่ ปุกกุสาติ ที่โรงปั้นหม้อโดยไม่รู้ว่าเป็นพระพุทธเจ้า หลังฟังธรรมรู้สึกซาบซึ้ง คิดว่าเป็นพระพุทธเจ้าแน่ |
291 |
ธาตุวิภังคสูตร (เสด็จไปหาช่างปั้นหม้อ และได้แสดงธรรมเรื่องธาตุ ๖ มีแดนสัมผัส ๖ มีความหน่วงนึกของใจ ๑๘ ...) |
705 |
ธาตุสังยุตต์ (รวม 10 พระสูตร) ความแตกต่างแห่งธาตุเป็นไฉน รูปธาตุ จักขุธาตุ วิญญาณธาตุ |
|
|