|
|
แจกแจงโดยละเอียด |
|
ธรรม ๑ ควรละ |
อัสมิมานะ (ความถือตัวว่าเป็นเรา) |
|
|
|
|
ธรรม ๒ ควรละ |
อวิชชา ภวตัณหา |
|
|
๑ อวิชา (ความไม่รู้แจ้ง) |
|
|
๒ ภวตัณหา (ความอยากในภพ) |
|
|
|
|
ธรรม ๓ ควรละ |
ตัณหา ๓ |
|
|
๑ กามตัณหา (ความอยากในกาม) |
|
|
๒ ภวตัณหา (ความอยากในภพ) |
|
|
๓ วิภวตัณหา* (ความไม่อยากเป็นอย่างนั้น ความไม่อยากเป็นอย่างนี้) |
|
|
* พระพุทธเจ้าไม่ได้สอน คลิก (นาที่ 16.25) |
|
ธรรม ๔ ควรละ |
โอฆะ ๔ (ห้วงน้ำ) |
|
|
๑ โอฆะ คือกาม |
|
|
๒ โอฆะ
คือภพ |
|
|
๓ โอฆะ คือทิฐิ |
|
|
๔ โอฆะ คืออวิชชา |
|
|
|
|
ธรรม ๕ ควรละ |
นิวรณ์ ๕ |
|
|
๑ กามฉันทะ ความพอใจติดใจ หลงใหลใฝ่ฝัน ในกามโลกีย์ทั้งปวง |
|
|
๒ พยาบาท ความไม่พอใจ ความสมปรารถนา ในโลกียะสมบัติทั้งปวง |
|
|
๓ ถีนมิทธะ ความขี้เกียจ ท้อแท้ หมดอาลัย ไร้กำลัง ไม่ฮึกเหิม |
|
|
๔ อุทธัจจะกุกกุจจะ ความคิดซัดส่าย ไม่สงบนิ่ง |
|
|
๕ วิจิกิจฉา ความไม่แน่ใจ ลังเลใจ สงสัย กังวล กล้าๆ กลัวๆ ไม่มั่นใจ |
|
|
|
|
ธรรม ๖ ควรละ |
ตัณหา ๖ (ความทะยานอยาก) |
|
|
๑ มานะ ความถือตัว |
|
|
๒ โอมานะ ความสำคัญว่าเลวกว่าเขา |
|
|
๓ อติมานะ ความเย่อหยิ่ง |
|
|
๔ อธิมานะ ความเข้าใจผิด |
|
|
๕ ถัมภะ ความหัวดื้อ |
|
|
๖ อตินิปาตะ ความดูหมิ่นตนเองว่าเป็นคนเลว |
|
|
|
|
ธรรม ๗ ควรละ |
อนุสัย ๗ (ความเคยชินที่นอนเนื่องในสันดาน) |
|
|
๑. อนุสัยคือ กามราคะ (ความกำหนัด ความพอใจในกามคุณทั้ง๕) |
|
|
๒. อนุสัยคือ ปฏิฆะ (ความหงุดหงิด ความไม่พอใจ คือโทสะ) |
|
|
๓. อนุสัยคือ ทิฏฐิ (คืิสัมาทฏฐิ เห็นอย่างถูกต้อง ตามหลักธรรม) |
|
|
๔. อนุสัยคือ วิจิกิจฉา (ความสงสัย ในมรรคของพระศาสดา) |
|
|
๕. อนุสัยคือ มานะ (ถือตัว เย่อหยิ่ง คิดว่าเราดีกว่าเขา- เขาดีกว่าเรา) |
|
|
๖. อนุสัยคือ ภวราคะ (กำหนัดในภพ เช่นพอใจที่จะเกิดเป็น เทวดา ) |
|
|
๗. อนุสัยคือ อวิชชา (ความไม่รู้ ในทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค) |
|
|
|
|
ธรรม ๘ ควรละ |
มิจฉัตตะ ๘ (ความผิด) |
|
|
๑. มิจฉาทิฏฐิ [เห็นผิด] |
|
|
๒. มิจฉาสังกัปปะ [ดำริผิด] |
|
|
๓. มิจฉาวาจา [วาจาผิด] |
|
|
๔. มิจฉากัมมันตะ [การงานผิด] |
|
|
๕. มิจฉาอาชีวะ [เลี้ยงชีวิตผิด] |
|
|
๖. มิจฉาวายามะ [พยายามผิด] |
|
|
๗. มิจฉาสติ [ระลึกผิด] |
|
|
๘. มิจฉาสมาธิ [ตั้งจิตผิด] |
|
|
|
|
ธรรม ๙ ควรละ |
ธรรมมีตัณหาเป็นมูลเหตุ ๙ ประการ |
|
|
๑. เพราะอาศัยตัณหา การแสวงหาจึงเกิดขึ้น |
|
|
๒. เพราะอาศัยการแสวงหา การได้จึงเกิดขึ้น |
|
|
๓. เพราะอาศัยการได้ การวินิจฉัยจึงเกิดขึ้น |
|
|
๔. เพราะอาศัยการวินิจฉัย๑- ฉันทราคะ๒- จึงเกิดขึ้น |
|
|
๕. เพราะอาศัยฉันทราคะ ความหลงใหลจึงเกิดขึ้น |
|
|
๖. เพราะอาศัยความหลงใหล ความหวงแหนจึงเกิดขึ้น |
|
|
๗. เพราะอาศัยความหวงแหน ความตระหนี่จึงเกิดขึ้น |
|
|
๘. เพราะอาศัยความตระหนี่ การรักษาจึงเกิดขึ้น |
|
|
๙. เพราะอาศัยการรักษา บาปอกุศลธรรมหลายประการ จึงเกิดขึ้น
(การถือท่อนไม้ ศัสตรา การทะเลาะ วิวาท พูดขึ้นมึง กู ส่อเสียด พูดเท็จ) |
|
|
|
|
ธรรม ๑๐ ควรละ |
มิจฉัตตะ ๑๐ |
|
|
๑. มิจฉาทิฏฐิ (เห็นผิด) |
|
|
๒. มิจฉาสังกัปปะ (ดำริผิด) |
|
|
๓. มิจฉาวาจา (วาจาผิด) |
|
|
๔. มิจฉากัมมันตะ (กระทำผิด) |
|
|
๕. มิจฉาอาชีวะ (เลี้ยงชีพผิด) |
|
|
๖. มิจฉาวายามะ (พยายามผิด) |
|
|
๗. มิจฉาสติ (ระลึกผิด) |
|
|
๘. มิจฉาสมาธิ (ตั้งจิตผิด) |
|
|
๙. มิจฉาญาณ (รู้ผิด) |
|
|
๑๐. มิจฉาวิมุตติ (หลุดพ้นผิด) |
|
|
|