|
|
1 |
วนิพก วสล วัก วัต วัช |
974 |
วนิพก : เรื่องอุปกาชีวก : อาชีวก เห็นผิวพรรณของ ภ.ผุดผ่องยิ่งนัก ถามใครเป็นศาสดาของท่าน ท่านชอบธรรมของใคร..แล้วส่ายหน้า |
230 |
วสลสูตรที่ (อัคคิกภารทวาช พราหมณ์ ตรัสกับพระผู้มีพระภาคว่า หยุดอยู่ที่นั่นแหละคนโล้น หยุดอยู่ที่นั่น แหละคนถ่อย ฯ) |
802 |
วักกลิสูตร ว่าด้วยการเห็นธรรมชื่อว่าเห็นพระพุทธเจ้า อย่าเลย วักกลิ ร่างกายอันเปื่อยเน่าที่เธอเห็นนี้ จะมีประโยชน์อะไร? |
1372 |
วังคีสสังยุต เรื่องพระวังคีสะ รวม ๑๒ พระสูตร พระวังคีสะ เห็นสตรีแล้วเกิดความกำหนัด เป็นผู้ติดแล้วในรูป ดูหมิ่นภิกษุผู้มีศีล |
718 |
วัตถุกถา สุตตนิบาต ปรายนวรรคที่ ๕ พราหมณ์พาวรี พาพราหมณ์ผู้เป็นศิษย์ ๑๖ คน เข้าเฝ้าฯ เพื่อถามปัญหา |
461 |
วัตถุสำหรับอธรรมวาที ๑๘ ประการ.... แสดงสิ่งที่ไม่เป็นธรรม ว่าเป็นธรรม แสดงสิ่งที่ไม่เป็นวินัย ว่าเป็นวินัย |
237 |
วัตรเดียรถีย์ - ทรงประพฤติ อัตตกิลมถานุโยค- แบบเต็ม (วัตรของเดียรถีย์) |
238 |
วัตรเดียรถีย์ แบบย่อ ทรงประพฤติ อัตตกิลมถานุโยค- แบบย่อ (วัตรของเดียรถีย์) |
972 |
วัจฉสูตร โลกเที่ยงหรือ..เราไม่พยากรณ์ สัตว์เบื้องหน้าแต่ตายแล้วย่อมเกิดอีก ย่อมไม่เกิดอีก ก็หามิได้หรือ.. เราไม่พยากรณ์ |
468 |
วัชชีปุตตสูตร สิกขาบท 150 ข้อ สิกขาบท 150 ถ้วน ตามที่ปรากฎในพระไตรปิฎกฉบับหลวง และฉบับอื่น (ตารางเปรียบเทียบ) |
1372 |
พระวังคีสะ (วังคีสสังยุต) รวม ๑๒ พระสูตร พระวังคีสะบวชได้ไม่นาน เห็นสตรีเข้าไปในอาราม แล้วเกิดความกระสัน |
|
|
|
|
2 |
วาจา วาทะ วาเสฏ |
712 |
วาจา ของสัตตบุรุษ และ อสัตตบุรุษ สะใภ้ใหม่-สะใภ้เก่า .. วาจาของสัตบุรุษ -อสัตตบุรุษ ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ |
907 |
วาจา ของสัตตบุรุษ (การพูดของสัตตบุรุษ) คำพูดของตถาคตวาจาของตถาคต ตถาคตย่อมกล่าวคำจริง แท้ ประกอบประโยชน์ |
907 |
วาจา ของตถาคต (การพูดของตถาคต) ตถาคตวาจาของตถาคต ตถาคตย่อมกล่าวคำจริง แท้ ประกอบประโยชน์ |
700 |
วาจา- ถ้อยคำที่พึงกล่าว ๕ ประการ 1.โดยกาลควร-ไม่ควร 2.จริง-ไม่จริง 3.อ่อนหวาน-หยาบ 4.ประโยชน์-ไม่ 5.เมตตา-มีโทสะ |
699 |
วาทะและทิฏฐิ .. การปฏิบัติที่เป็นมิจฉาทิฏฐิของพราหมณ์ แม้ตถาคตก็เคยหลงผิดมาแล้ว.. ข้อโต้แย้งวาทะของพราหมณ์กับศาสดา |
1337 |
วาทะของลัทธิต่างๆ พวกหนึ่งกำหนดขันธ์ส่วนอนาคต พวกหนึ่งบัญญัติว่าอัตตา(ตัวตน)ยั่งยืน พวกหนึ่งบัญญัติว่าตายแล้วสูญ |
613 |
วาเสฏฐ กับ ภารทวาช บุตรพราหมณ์ เล่าให้ฟังว่า ถูกพวกพราหมณ์ตำหนิ บอกว่าวรรณะพราหมณ์ประเสริฐ กว่าวรรณะโกนหัว พระพุทธเจ้าตรัสว่า พวกพราหมณ์เกิดมาจากช่องคลอด จะบริสุทธิได้อย่างไร |
344 |
วาเสฏฐะ (พราหมณ์) และ ภารทวาชมาณพ เข้าเฝ้า- (เตวิชชสูตร) |
|
|
3 |
วิชชา วิญญาน |
343 |
วิชชา ๓ (ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ จุตูปปาตญาณ อาสวักขยญาณ) |
850 |
วิชชา ๘ (ญาณ ๘) ความรู้ที่ทำให้รู้จักการหลุดพ้น การดับทุกข์ วิปัสสนาญาณ มโนมยิทธิญาณ อิทธิวิธญาณ ทิพยโสตญาณ |
1045 |
วิชชา ๘ : วิปัสสนาญาณ- มโนมยิทธิญาณ- อิทธิวิธญาณ ทิพยโสต- เจโต- ปุพเพนิวาสา- จุตูปปาตญาณ- อาสวักขยญาณ |
997 |
วิญญาณ ๖ อายตนะ๖ ภายใน๖ ภายนอก๖ ผัสสายตนะ๖ วิญญาณ ๖ ผัสสะ๖ เป็นแดนเกิดของกรรม และเป็นแดนเกิดของภพ |
S4- 51 |
วิญญาณ- คุณ และ โทษ ของวิญญาณ (ต้องรู้จักอัสสาทะ และ อาทีนนวะ) |
S7-216 |
วิญญาณเกิด ทุกข์เกิด สุขใดๆที่อาศัยวิญญาณแล้วเกิดขึ้น สุขนี้แลเป็นรสอรอย(อัสสาทะ)ของวิญญาณ |
S4- 52 |
วิญญาณดวงแรกปรากฏ จิตดวงแรกเกิดขึ้น (การก้าวลงสู่ครรภ์มารดา) |
1099 |
วิญญาณฐิติ ๗ และอายตนะ ๒ สัตว์มีกายต่างกัน มีสัญญาต่างกัน .... สัตว์มีกายต่างกัน มีสัญญาอย่างเดียวกัน ฯลฯ |
1537 |
วิญญาณแล่นไป จิตแล่นไป สัตว์เป็นผู้แล่นไป ท่องเที่ยวไป (ตัวอย่างพระสูตรที่กล่าวถึง) |
1395 |
วิญญาณ กับ นามรูป จิตดวงแรกเกิดขึ้น วิญญาณดวงแรกปรากฏ.. ความเกิดแห่งจิตย่อมมี เพราะความเกิดแห่งนามรูป... |
1399 |
วิญญาณ ตั้งอยู่ได้ในที่ใด การก้าวลงแห่งนามรูป..สังขารทั้งหลาย..ชาติชรามรณะ.. ก็มีอยู่ในที่นั้น เราเรียกว่าที่นั่น มีความโศก |
1396 |
เพราะมี วิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป : เพราะมี นามรูปเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ |
|
|
4 |
วิตก วินัย |
1308 |
เรื่องวิตก (ความตริตรึก ความคิด) #1 เทวธาวิตักกสูตร ว่าด้วยความวิตก ๒ ส่วน อกุศลวิตก และ กุศลวิตก |
1309 |
เรื่องวิตก (ความตริตรึก ความคิด) #2 หากนิมิตไปในทางอกุศลให้เปลี่ยนมาคิดแต่กุศลแทน อกุศลคือฉันทะโทสะย่อมตั้งอยู่ไม่ได้ |
1310 |
เรื่องวิตก (ความตริตรึก ความคิด) #3 ผู้ชำนาญในทางเดินแห่งวิตก เปลี่ยน มนสิการที่เป็น อกุศล มนสิการที่เป็น กุศล |
920 |
วินัย จากพระโอษฐ์ ลาภสักการะ.. อันตรายทารุณเผ็ดแสบ หมือนสุนัขขี้เรื้อน เต่าติดชนัก ปลากลืนเบ็ด ผู้กินคูถ ดูดีสัตว์ |
920-2 |
วินัย จากพระโอษฐ์ ผู้ชี้ขุมทรัพย์..เราจักชี้โทษแล้วชี้โทษอีก ภิกษุนกแก้ว นกขุนทอง ..ผู้รู้ธรรมไม่ทั่วถึง ผู้หล่นจากศาสนา |
920-3 |
วินัย จากพระโอษฐ์ ไม่รู้ปฏิจจไม่ได้เป็นสมณะ ผู้ตกเหวสมณะผู้ไม่รู้ตามความเป็นจริงในทุกข์ ผู้ที่ควรเข้าใกล้ ผู้มีศีลสมาธิปัญญา |
920-4 |
วินัย จากพระโอษฐ์ ผู้มีศีลไม่สะสม ไม่ดูการเล่น ไม่ดูการฟ้อน ฟังขับ ฟังนิยาย ฟังเพลง ปรบมือไม่ประดับตกแต่ง ปลุกเสก |
920-5 |
วินัย จากพระโอษฐ์ เรียกร้องหาศาสดาเพื่อความเป็นศัตรู เรียกร้องหาศาสดาเพื่อความเป็นมิตร สมณสากยปุตติยะที่แท้ |
920-6 |
วินัย จากพระโอษฐ์ เถระดี เถระที่ไม่ต้องระวัง อาเนญชาสมาธิ เนื้อนาบุญของโลก พระโสดาบัน สกทาคามี อนาคามี อรหันต์ |
920-7 |
วินัย จากพระโอษฐ์ เรื่องอื่นๆ |
S1- 07 |
วินัย-แสดงสิ่งที่พระพุทธเจ้ามิได้บัญญัติว่าบัญญัติ (เถระวิปริต) |
473 |
วินัย - วินีตวัตถุ อุทานคาถา ปฐมปาราชิกกัณฑ์ พระวินัยปิฎก เรื่องลิงตัวเมีย เรื่องเปลือยกาย เรื่องเสพเมถุนกับสัตว์ กับมารดา |
1025 |
วินัยสงฆ์ 185 เว้นขาดจากเดรัจฉานวิชา ถึงพร้อมด้วยจุลศีล 26 ประเภท มัชฌิมศีล 10 ประเภท มหาศีล 149 ประเภท รวม 185 |
1330 |
วินัย พวกพระอัสสชิ และ พระปุนัพพสุกะ ประพฤติชั่วช้า อนาจาร ประพฤติผิดวินัยหลายปราการ ทรงให้ขับออกจากหมู่สงฆ์ |
1385 |
วินัยของภิกษุณี การบัญญัติพระวินัย ของภิกษุณี รวมเรื่อง พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี (ภิกษุณีอรหันต์)เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า |
|
|
5 |
วิบาก วิบัติ |
S9-48 |
วิบากแห่งกรรม 3 อย่าง วิบากในทิฏฐธรรม(ทันควัน) อุปะปัชชะ (ในเวลาต่อมา) อปรปริยายะ (ในเวลาต่อมาอีก) |
303 |
วิบากกรรม ผู้ฉลาดในเรื่องวิบากแห่งกรรม ฉลาดในเรื่องกรรม (บุคคลเป็นชาวนา ก็เพราะกรรม; เป็นศิลปิน ก็เพราะกรรม) |
619 |
วิบากกรรมของคนชั่ว พาลบัณฑิตสูตร โทษของคนพาล โทษของผู้ประพฤติทุจริตทางกาย วาจา ใจ ย่อมเสวยทุกข์เป็นอันมาก |
242 |
วิบากกรรมของคนพาล (คิดชั่ว พูดชั่ว ทำชั่ว ย่อมเสวยทุกข์ไปตามกรรมในรูปแบบต่างๆ) |
S7- 190 |
วิบากกรรมอย่างเบาของผู้ทุศีล |
526 |
วิบากของผู้ทุศีล ผลของการไม่มีศีล วิบากของผู้ทุศิล ย่อมเป็นไปเพื่อนรก เป็นไปเพื่อกำเนิดเดรัจฉาน เป็นไปเพื่อเปรตวิสัย |
820 |
วิบากแห่งมิจฉาวาจา ย่อมเป็นไปเพื่อนรก กำเนิดดิรัจฉาน เปรตวิสัย โทษมุสาวาท อย่างเบาของมนุษย์ คือถูกกล่าวตู่ด้วยคำไม่จริง |
346 |
วิบากดำ วิบากขาว กรรม ๔ ประการ กรรมดำมีวิบากดำ.. กรรมขาวมีวิบากขาว.. กรรมทั้งดำทั้งขาวมีวิบากทั้งดำทั้งขาว... |
101 |
วิบากดำ วิบากขาว-กรรมดำ-กรรมขาว กรรม ๔ อย่าง (กรรมดำมีวิบากดำ.. กรรมขาวมีวิบากขาว..) |
1306 |
วิบัติของอุบาสก ๗ ประการ (วิปัตติสัมภวสูตร) ขาดการอบรม ละเลยการฟังธรรม ไม่ศึกษาในศีลที่สูงขึ้น ศรัทธาลัทธิอื่น |
|
|
6 |
วิปัสสี วิภังค วิภาค วิมุตติ วิโมกข์ |
339 |
ตาราง...พระพุทธเจ้าในอดีต ย้อนไป 91 กัป (รวม 7 พระองค์ พร้อมชื่อสาวกเบื้องซ้ายเบื้องขวา องค์อุปัฏฐาก ฯลฯ ) |
1306 |
วิปัตติสัมภวสูตร วิบัติของอุบาสก ๗ ประการ ขาดการเยี่ยมเยียนภิกษุ ละเลยฟังธรรม ไม่ศึกษาอธิศีล ไม่เลื่อมใสภิกษุ ตั้งจิตติเตียน |
1701 |
วิปัสสี รวมเรื่องราวของพระพุทธเจ้า วิปัสสี (ทุกพระสูตรที่เป็นคำสอนจากพระโอษฐ์) (P1701 1702 1703 1704 1705 1706 1707) |
744 |
วิปัสสี พระพุทธเจ้า ยุคมนุษย์อายุ 80,000 ปี (91กัปที่แล้ว) ประสูติ..ปริสลักษณะ32 เหมือนกับพระพุทธเจ้า(โคตม)ทุกประการ |
464 |
วิปัสสี-พระพุทธเจ้า"วิปัสสี" ท้อพระทัย จึงน้อมไปเพื่อความขวนขวายน้อย ท้าวมหาพรหมวิตก ว่าโลกจะฉิบหาย |
555 |
วิปัสสี-พระพุทธเจ้า"วิปัสสี" ทรงท้อพระทัยที่จะแสดงธรรม แต่ท้าวมหาพรหมขอร้อง ไม่เช่นนั้นโลกจะฉิบหาย |
901 |
วิปัสสี-พระพุทธเจ้าจุติจากชั้นดุสิต (ย้้อนไป ๙๑ กัป)โลกธาตุนับหมื่นสว่างไสวสะท้านสะเทือน แม้ในที่มึดมิดที่แสงไม่เคยปรากฏ |
902 |
วิปัสสี-ราชกุมาร เสด็จอุทยาน ทรงเห็นคนชรา คนเจ็บ ตนตาย และบรรพชิต จากนั้นทรงตัดสินใจปลงผมและหนวด |
903 |
วิปัสสี-โพธิสัตว์ผู้เสด็จหลีกออกเร้น พิจารณาความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ (สายเกิด) พิจารณาความดับ ตามสายปฏิจจสมุปบาท |
904 |
วิปัสสี- ตรัสรู้ธรรม ทรงเห็นว่า ธรรมที่บรรลุนี้เป็นธรรม ลึกซึ้ง เห็นได้ยาก รู้ตามได้ยาก รู้ได้เฉพาะบัณฑิต |
141 |
วิภังคปกรณ์ ธาตุ๖ นัยที่ ๑ ปฐวีธาตุ อาโป../ นัยยะที่๒ สุขธาตุ ทุกขธาตุ โสมนัส/.. นัยยะที่๓ กามธาตุ พยาปาท วิหิงสา.. |
639 |
วิภาคแห่งปัญจุปาทานขันธ์ .. จำแนกขันธ์ 5 โดยละเอียด รากเง่าแห่งอุปาทานขันธ์ คือฉันทะ .. อุปาทานมี ๔ สี่อย่าง คือ |
638 |
วิภาคแห่งเวทนา.. จำแนกเวทนาโดยละเอียด..เวทนา 2 อย่าง, เวทนา 3 อย่าง, เวทนา 5 อย่าง, 6 อย่าง,18 อย่าง,36 อย่าง,108 อย่าง |
807 |
วิมุตติ-การเข้าวิมุตติ (ถอดจากคลิป) มรรควิธีที่จะบรรลุธรรม หรือทางทุกสายจะมาลงที่โพชฌงค์ 7 วิชชาและวิมุตติก็จะปรากฏ |
1441 |
วิมุตตายตนสูตร เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ 1.โดยรู้แจ้งในอรรถในธรรม 2.แสดงธรรมตามที่สดับมา 3.ได้เรียนมา 4.ตรึกตาม .. 5.. |
506 |
วิโมกข์ ๘ ๑. ผู้ได้รูปฌาน ๒.ไม่มีความสำคัญในรูป ๓. น้อมใจเชื่อกสิณ ๔.บรรลุอากา ๕.วิญญา ๖.อากิญ ๗.เนว ๘.สัญญาเวทยิต |
|
|
7 |
วิราค วิหาร วิเวก วิริ วิสาขา |
S3- 20 |
วิราคสูตร ข้อปฏิบัติเพื่อสำรอกราคะ (มรรค8) |
485 |
วิราคะธรรม: วิราคะ(คลายความกำหนัด) คือธรรมเป็นที่บรรเทาความเมา ตัดซึ่งวัฏฏะ เลิศกว่า สังขตธรรม และ อสังขตธรรม |
489 |
วิราคะธรรม-จุนทิสูตร เลื่อมใสในสิ่งที่เป็นเลิศ 3 ประการ 1.พระพุทธเจ้า 2.วิราคธรรม 3.ในสงฆ์ วิบากอันเลิศย่อมมีแก่ผู้นั้น |
1561 |
วิวาท อะไรเป็นเหตเป็นปัจจัยที่ทำให้มนุษย์วิวาทกัน เหตุเพราะตกอยู่ในอำนาจความกำหนัดยินดีในกามราคะ และะ ทิฐิราคะ |
S1-12 |
วิหารธรรม-อานาปานสติคือวิหารธรรม (ตถาคตวิหาร) |
1077 |
วิหารธรรม เครื่องอยู่ของตถาคต (มหาสุญญตสูตร) ตถาคตตรัสรู้ในที่นั้นๆ นี้แล คือ ตถาคตบรรลุ สุญญตสมาบัติภายใน |
1078 |
สูญญตาวิหาร คือ วิหารธรรมที่ทรงอยู่มากที่สุด... แม้กำลังแสดงธรรมกถา จิตก็ยังน้อมไปในวิเวก..นี้คือ "ปรมานุตตรสุญญตา" |
1079 |
สุญญตวิหารธรรม พิจารณาความว่าง (สูญญตา) ตามลำดับ เมื่อก่อนว่างเปล่าจากช้าง โค ม้า ไม่ว่างอยู่สิ่งเดียวเฉพาะภิกษุสงฆ์ |
909 |
วิเวก ๓ อย่าง กายวิเวก อยู่ในที่เร้นลับผู้เดียว จิตตวิเวก บรรลุปฐมฌาน จิตสงัดจากนิวรณ์ อุปธิวิเวก ธรรมที่ระงับสังขาร |
1350 |
เหตุแห่งความวิวาท ๖ อย่าง 1.มักโกรธ ผูกโกรธ 2.มีความลบหลู่ ตีเสมอ 3.มีความริษยา ตระหนี่ 4.โอ้อวดมีมายา 5.ปรารถนาลามก |
320 |
วิริยินทรีย์ วิริยพละ...สาเกตสูตร ว่าด้วย (สิ่งใดเป็นวิริยินทรีย์ สิ่งนั้นเป็นวิริยพละ...) |
430 |
วิสาขาสูตร- เรื่องความรัก ผู้ใดมีสิ่งที่รัก ๑๐๐ ผู้นั้นก็มีทุกข์ ๑๐๐ ผู้ใดไม่มีสิ่งที่รัก ผู้นั้นก็ไม่มีทุกข์ |
411 |
วิสาขาสูตร-จูฬเวทัทลสูตรที่ ๔ เรื่องสักกายทิฏฐิ, มรรค ๘ กับขันธ์ ๓, สมาธิและสังขาร, สัญญาเวทยิตนิโรธ ,เวทนา |
1489 |
นางวิสาขามิคารมาตา เข้าเฝ้าทูลถามข้อปฏิบัติ ว่าจะเชื่อใคร เมื่อภิกษุชาวเมืองโกสัมพีทะเลาะกัน |
|
|
|
|
8 |
เวทนา เวเท เวป เวปุล |
1543 |
เวทนา ๓ (10 พระสูตร) สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา เวทนาใดๆเป็นทุกข์ มีความพินาศ มีความทำลาย มีความสิ้นไปอยู่ |
364 |
เวทนา ๖ ความหมายของเวทนา.. และอุปมาของคำว่าเทวดา |
807 |
เวทนา ๓๖ คือทางไปแห่งจิตของสัตว์ ๓๖ อย่าง เนื่องด้วยเหย้าเรือน 18 (เคหสิต) หลีกออกจากเหย้าเรือน 18 (เนกขัมม-สิต) |
539 |
เวทนา ๑๐๘ เวทนาประกอบด้วย เวทนา ๒ /เวทนา ๓ /เวทนา ๔./ เวทนา ๕. /เวทนา ๖. /เวทนา ๑๘/เวทนา ๓๖ /เวทนา ๑๐๘ |
1451-65 |
เวทนา รวมเรื่องเวทนา หลายพระสูตร |
1407 |
เวทนาใน ฌาน ๑ - ฌาน ๔ |
567 |
เวทนา-การเกิดของเวทนา คือ การเกิดของทุกข์ ... อาการเกิดดับแห่งเวทนา |
638 |
เวทนา-จำแนกเวทนาโดยละเอียดวิภาคแห่งเวทนา ..เวทนา 2 อย่าง, เวทนา 3 อย่าง, เวทนา 5 อย่าง, 6 อย่าง,18 อย่าง,36 ,108 อย่าง |
577 |
เวทนา-เป็นทางมาแห่งอนุสัย..เมื่อเวทนาถูกต้องแล้ว อนุสัยคือราคะ อนุสัยคือปฏิฆะ อนุสัยคืออวิชชา ย่อมนอนเนื่องอยู่ในสันดาน |
574 |
เวทนา-วิภาคแห่งเวทนา เวทนา 2อย่าง..เวทนา 3อย่าง..เวทนา 5อย่าง..เวทนา 6อย่าง..เวทนา8 อย่าง..เวทนา 36อย่าง..เวทนา108 อย่าง |
576 |
เวทนา-อัสสาทะของเวทนา.. มีในทุกสมาธิ ฌาน 1-4 เรากล่าวอัสสาทะของเวทนามีการไม่ทำความเดือดร้อนแก่ผู้ใดเป็นอย่างยิ่ง |
149 |
เวเทหิกา แม่เรือน (นางกาลีผู้เป็นบ่าว ทดสอบจิตใจนายหญิงเวเทหิกา ด้วยการตื่นสาย 3 ครั้ง) |
581 |
เวปจิตติสูตรที่ ๔ ชนะความโกรธ ด้วยความอดกลั้น บุคคลผู้ไม่โกรธตอบต่อผู้ที่โกรธ ย่อมชื่อว่าชนะสงครามซึ่งเอาชนะได้ยาก |
594 |
เวปุลลปัพพตสูตร ตรัสถึงความไม่เที่ยง โดยยกเอาพระพุทธเจ้าและภูเขาในอดีต ที่สิ้นไปแล้วมาแสดง เพื่อให้เกิดความเบื่อหน่าย |
|
|
9 |
เวรัญ เวร เวส เวสสา เวลาม |
372 |
เวรัญชพราหมณ์ กล่าวตู่พระพุทธเจ้า.. การตอบโต้วาทะ พราหมณ์กับพระพุทธเจ้า |
S5- 112 |
เวรัญชพราหมณ์ กล่าวตู่พระพุทธเจ้า.. การตอบโต้วาทะ พราหมณ์กับพระพุทธเจ้า |
315 |
เวรัญชพราหมณ์ กล่าวตู่พระพุทธเจ้าว่าไม่เคารพพราหมณ์ผู้เฒ่า (พระองค์ทรงอุปมาเหมือนลูกไก่ที่เกิดก่อน ว่าควรเรียกพี่ ) |
1029 |
เวร ย่อมไม่ระงับด้วยการผูกเวร ทรงห้ามภิกษุเมืองโกสัมพีทะเลกัน ทรงตรัสสอน การผูกโกรธ กับการไม่ผูกโกรธ |
1074 |
เวรสูตร คือศีล ๕ หรือ ภัยเวร ๕ ประการ ตรัสไว้ ๒ พระสูตร ตรัสกับอนาถบิณฑิก และตรัสกับภิกษุ ท. โดยเนื้อความตรงกัน |
969 |
เวสสันดร การบำเพ็ญบารมีในอดีตชาติ การให้ทานจนเกิดแผ่นดินได้ไหว ภูเขาสิเนรุสั่นสะเทือน ชูชก-พระนางมัททรี กันหา-ชาลี |
750 |
เวสารัชชสูตร เวสารัชชญาณ 4 อย่าง ทรงประกาศปฏิญญา ตําแหน่งจอมโลก บันลือสีหนาทประกาศพรหมจักร ไม่มีใครเทียบ |
942 |
เวสารัชชสูตร พรหมจักรเวสา รัชชญาณ มี ๔ ประการ ธรรมของตถาคตไม่มีใครคัดง้างได้ ไม่ว่าจะเป็น สมณะ มาร พรหม .. |
1609 |
เวลา รวมเรื่องเวลาในพระไตรปิฎก การแบ่งเวลาใน 1วัน ..กลางวัน-กลางคืน แบ่งอย่างไร..เวลาวิกาล หมายถึงอะไร.. |
358 |
เวลามสูตร ผลของทานในบุคคลต่างๆ |
272 |
เวลามสูตร (ทรงเล่าการถวายทานแบบต่างๆที่ได้อานิสงส์ต่างกัน สมัยพระองค์เป็นพราหมณ์ ชื่อเวลามะ) |