|
|
4 |
คติ คน คนธรรพ์ ครุฑ ควัม |
324 |
คติ ๕ และอุปมา สารีบุตร ! คติ ๕ ประการเหล่านี้ มีอยู่ คือ (๑) นรก (๒) กำเนิดเดรัจฉาน (๓) เปรตวิสัย (๔) มนุษย์ (๕) เทวดา |
S13-16 |
คนดุร้าย-คนสงบเสงี่ยม (ตรัสกับคามณี) บุคคลที่ยังละราคะ โทสะ โมหะ ไม่ได้ นับได้ว่าเป็นคนดุร้าย ละได้แล้วเป็นคนสงบเสงี่ยม |
108 |
คนตกน้ำ ๗ จำพวก (จากปุถุชน จนถึง อรหันต์ เรียงลำดับของความอ่อน-แก่ของอินทรีย์) |
S5- 122 |
คนธรรพ์ ๑๐ ประเภท (เทวดาที่สถิตย์ในต้นไม้มีกลิ่น 10 ประเภท..ต้นไม้มีกลิ่น ที่ดอก ที่ต้น ที่ใบ ที่ผล ที่เปลือก ที่แก่น...) |
394 |
คนธรรพ์ คือเทวดาที่สิงอยู่ในต้นไม้ที่มีกลิ่นที่ราก ที่แก่น ที่กะพี้ ที่เปลือก ที่กะเทาะ ที่ใบ ที่ดอก ที่ผล ที่รส ที่กลิ่น |
837 |
คนธรรพ์ รวมพระสูตรเรื่อง คนธรรพ์ |
330 |
คนพาล-ภัยและอุปสรรค ย่อมเกิดแต่คนพาล ไม่เกิดแต่บัณฑิต (ภิกษุพาลคือภิกษุที่มีภัย ภิกษุบัณฑิตเป็นผู้ไม่มีภัย) |
242 |
คนพาล-วิบากกรรมของคนพาล (คิดชั่ว พูดชั่ว ทำชั่ว ย่อมเสวยทุกข์ไปตามกรรมในรูปแบบต่างๆ) |
230 |
คนโล้น-คนถ่อยวสลสูตรที่ ๗ (หยุดอยู่ที่นั่นแหละคนโล้น หยุดอยู่ที่นั่น แหละคนถ่อย ฯ) |
S4- 68 |
คนแหวกแนว (ภิกษุที่ชักชวนมหาชนในกายกรรม วจีกรรม บำเพ็ญจิต ผิดแนวพุทธศาสนา ถือว่าทำความฉิบหายแก่มหาชน) |
S5- 94 |
คนแหวกแนว (ภิกษุสอนผิดแนว กายกรรม วจีกรรม บำเพ็ญจิต ผิดแนวพุทธศาสนา ได้ชื่อว่าทำให้มหาชนฉิบหาย หมดสุข) |
1318 |
คณกโมคคัลลานสูตร ธรรมตามลำดับ ตรัสกับ พราหมณ์ |
392 |
ครุฑ มี ๔ จำพวก (เกิดในไข่..เกิดในครรภ์..เกิดในเถ้าไคล..เกิดผุดขึ้น) |
1475 |
ครูของเทวดาและมนุษย์ ตถาคตเป็นผู้ไกลจากกิเลส รู้เองโดยชอบแสดงธรรมไพเราะในเบื้องต้น ในท่ามกลาง ในที่สุด |
1494 |
คฤหัสถ์ผู้ครองเรือน พึงรู้ได้ยากว่าภิกษุเหล่าใด เป็นพระอรหันต์ หรือเป็นผู้บรรลุอรหัตมรรค (ทารุกัมมิกสูตร) |
S8 -244 |
ควัมปติสูตร ผู้เห็นทุกข์ ชื่อว่าเห็นใน สมุทัย นิโรธ มรรค (เห็นอย่างใดอย่างหนึ่ง ย่อมเห็นที่เหลือทั้งหมด) |
|
|
5 |
ความ |
581 |
ความโกรธ เวปจิตติสูตรที่ ๔ ชนะความโกรธ ด้วยความอดกลั้น บุคคลผู้ไม่โกรธตอบต่อผู้ที่โกรธ ย่อมชื่อว่าชนะสงคราม |
427 |
ความคิด- อย่าคิดเรื่องโลก จินตสูตร สิ่งที่ไม่ควรคิด อย่าคิดเรื่องโลก จงคิดเรื่องอริยสัจ เพราะไม่ประกอบด้วยประโยชน์ |
440 |
ความจน ก็เป็นทุกข์ อิณสูตร.. ความจนก็เป็นทุกข์ของผู้บริโภคกาม การกู้ยืม การใช้ดอกเบี้ย การทวงการติดตาม |
166 |
ความจริงอันประเสริฐ มีสี่อย่างเหล่านี้ สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? (อริยสัจสี่) |
317 |
ความจริง-ตามรู้ซึ่งความจริง ๑๒ ประการ (ศรัทธา เข้าไปหา นั่งใกล้ เงี่ยโสตลงฟัง ฟังซึ่งธรรม ทรงจำธรรมนั้นไว้ ใครครวญ) |
111 |
ความเป็นโสดาบัน ประเสริฐกว่าเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ์ (โสดาบันมุ่งนิพพาน แต่จักรพรรดิ์ยังไม่พ้นจากอบาย) |
514 |
ความฝัน ก่อนตรัสรู้ 1.มหาปฐพีนี้เป็นที่นอนของตถาคต 2.หญ้าคางอกจากสะดือ 3.หนอนสีขาวหัวดำคลานขึ้นมา |
686 |
ความพอใจ-คือเชื้อแห่งอุปาทาน ความพอใจคือเชื้อแห่งอุปาทาน.. ดับเชื้อไฟเท่ากับดับความพอใจ คือดับอุปาทาน |
688 |
ความพอใจ-เป็นปัจจัยแห่งสังโยชน์ ทุติยสังโยชนสูตร อุปมาน้ำมัน ประทีปและใส้ ที่ถูกเติมให้ลุกโพลง..ตัณหาย่อมเจริญ |
689 |
ความพอใจ-เป็นปัจจัยแห่งอุปาทานปฐมมหารุกขสูตร ทำให้ตัณหาเจริญ อุปมาเหมือนต้นไม้ใหญ่ ย่อมดูดโอชารสขึ้นไปเบื้องบน |
|
(ความเพียร) |
1558 |
ความเพียร ตั้งความเพียรสม่ำเสมอเทียบเสียงพิณ ไม่ตึงเกินไปไม่หย่อนเกินไปตั้งแค่พอดี ตรัสกับ ภ.โสนะ เดินจงกรมจนเท้าแตก |
550 |
ความเพียร สมัยที่ไม่สมควร และ สมควรความเพียร สมัยที่ไม่ควร: วัยแก่ชรา- อาพาธ- ข้าวแพง - สมัยที่มีภัย-สงฆ์แตกกัน |
552 |
ความเพียร สิ้นกิเลสก็แล้วกัน ไม่ต้องรู้ว่าสิ้นไปเท่าไหร่ อุปมาเหมือนด้ามมีดที่สึกไป หรือคั้นเมล็ดงาย่อมได้น้ำมัน |
S7-195 |
ความเพียร สิ้นกิเลสก็แล้วกัน ไม่ต้องรู้ว่าสิ้นไปเท่าไร อุปมาเหมือนด้ามมีดที่สึกไป ไม่สนใจว่าสึกวันนี้ หรือเมื่อวาน สึกไปเท่าใด |
S7-196 |
ความเพียร หากประพฤติถูกต้อง จะหวังผลหรือไม่หวังผล ย่อมได้รับผล อุปมาคั้นเมล็ดงาบนราง ย่อมได้น้ำมันงา |
S6- 154 |
ความเพียร ความเพียร เพื่อละอุปธิเสียทั้งหมด เป็นยอดแห่งความเพียร ที่เหนือกว่าความเพียรเพื่อให้ได้ทรัพย์สินเงินทอง |
543 |
ความเพียร ทำได้ในทุกอิริยาบถ แม้เดินยืนนั่งนอน ถ้ากามวิตก พยาบาท-วิหิงสาเกิดขึ้น ก็ไม่รับเอา. เรียกว่าเป็นผู้มีความเพียร |
S8-239 |
ความเพียร อันไม่ถอยกลับ หนัง เอ็น กระดูก .. เนื้อและเลือดในสรีระจักเหือดแห้งไป ถ้ายังไม่บรรลุเราจักไม่หยุดความเพียรนั้น |
1038 |
ความเพียร ซึ่งเกิดได้ยาก ๒ อย่าง คือ 1.ความเพียรเพื่อทำให้เกิดจีวรบิณฑบาต(เข้ามาบวช) 2.ความเพียรเพื่อสละคืนอุปธิ |
|
|
1097 |
ความแปรปรวน สิ่งที่ว่าเลิศทั้งหลาย ก็ยังมีความแปรปรวน แม้ท้าวมหาพรหมผู้เป็นเลิศ..ผู้ได้กสิณ ๑๐ ผู้เข้าถึงเนวสัญญาก็แปรปรวน |
198 |
ความมืดบอดของโลก มีตลอดเวลาที่พระตถาคตไม่เกิดขึ้น |
594 |
ความไม่เที่ยง เวปุลลปัพพตสูตร ตรัสความไม่เที่ยง ยกเอาพระพุทธเจ้าและภูเขาในอดีตมาแสดงเพื่อให้เกิดความเบื่อหน่าย |
528 |
ความไม่มีโรคเป็นลาภอย่างยิ่ง เป็นนิพพานของคนตาบอด |
388 |
ความไม่สะอาด-เหตุให้ทุคติปรากฎ ไม่สะอาดกาย วาจา ใจ,อกุศลกรรมบท10 เป็นเหตุให้ นรก เดรัจฉาน เปรตวิสัย ปรากฏ |
S1- 36 |
ความยาก ๓ สิ่งที่เสมอกัน เกิดตถาคต เกิดมนุษย์ ศาสนาแผ่.. |
S3- 25 |
ความรัก ๔ แบบ (รักเกิดจากรัก - เกลียดเกิดจากรัก - รักเกิดจากเกลียด -เกลียดเกิดจากเกลียด) |
207 |
ความรัก ๔ แบบ (รักเกิดจากรัก ,เกลียดเกิดจากรัก , รักเกิดจากเกลียด, เกลียดเกิดจากเกลียด) |
430 |
ความรัก วิสาขาสูตร ผู้ใดมีสิ่งที่รัก ๑๐๐ ผู้นั้นก็มีทุกข์ ๑๐๐ ผู้ใดไม่มีสิ่งที่รัก ผู้นั้นก็ไม่มีทุกข์ |
404 |
ความว่าง สูญญตวรรคสุญญตวิหารธรรม พิจารณาความว่างไปตามลำดับ ไปจนถึงการหลุดพ้น |
520 |
ความสะดุ้งหวาดเสียว เพราะอุปาทาน เขาย่อมตามเห็น อยู่เป็นประจำซึ่งรูป โดยความเป็นตนบ้าง ตนมีรูปบ้าง รูปมีในตนบ้าง |
S3-13 |
ความสำคัญในคำสอนของตถาคต(ตถาคตนั้น แสดงธรรมไพเราะในเบื้องต้น ท่ามกลาง ที่สุด) |
186 |
ความเสื่อม การเป็นอยู่ที่ไม่เสื่อม แบบที่หนึ่ง และ แบบที่สอง (วินัยและข้อปฏิบัติของสงฆ์) |
522 |
ความหวาดสะดุ้งกลัว -คาถาป้องกันภัย ธชัคคสูตรที่ ๓ ภิกษุอยู่ป่า มีภัย ให้นึกถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ |
1314 |
ความหวั่นไหว เป็นโรค เป็นฝี เป็นลูกศร เพราะเหตุนั้นแล ภิกษุพึง ไม่มีความหวั่นไหว (เอชสูตรที่ ๑) |
1247 |
ความหวั่นไหวเป็นโรค เป็นฝี เป็นลูกศร..เหตุนั้นแลตถาคตเป็นผู้ไม่หวั่นไหว ปราศจากลูกศร ภิกษุไม่พึงสำคัญซึ่งจักษุ ..ว่าของเรา |
663 |
ความเห็นที่เป็นไปในลักษณะขาดสูญ ผู้สิ้นความสงสัย . ทิฎฐิสุดโต่งแบบที่ 2 |
1572 |
ความสงสัยในอนาคต 15 ประการของสัตว์ เมื่อตายจากภพนี้แล้วจักเป็นอะไรหนอ สัตว์นรก เดรัจฉาน..เทวดา สัตว์มีรูป ไม่มีรูป.. |
|
|
|
|
6 |
คาถา |
522 |
คาถา ป้องกันภัย ความหวาดสะดุ้งกลัว -คาถาป้องกันภัย ธชัคคสูตรที่ ๓ ภิกษุอยู่ป่า มีภัย ให้นึกถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ |
1046 |
คาถาธรรมบท ๒๒ : ผู้กล่าวคำไม่จริงย่อมเข้าถึงนรก..ผู้ทำบาปแล้วกล่าวว่ามิได้ทำย่อมเข้าถึงนรก ผู้มีมิจฉาทิฐิย่อมไปสู่ทุคติ |
1047 |
คาถาธรรมบท ๒๓ : เราจักอดกลั้น ความไม่ประมาท ความอดกลั้นซึ่งคำล่วงเกิน ดุจช้างอดทนซึ่งลูกศร ที่ออกมาจากแล่ง |
1048 |
คาถาธรรมบท ๒๔ : ตัณหา ย่อมเจริญแก่มนุษย์ผู้ประมาท ทาน ที่บุคคลถวายในท่าน ผู้ปราศจาก ราคะ โทสะ โมหะย่อมมีผลมาก |
1049 |
คาถาธรรมบท ๒๕ : ความสำรวม ความสำรวมด้วยจักษุ ด้วยหู ด้วยจมูก ด้วยลิ้น ด้วยกาย ด้วยวาจา ด้วยใจ เป็นความดี |
1050 |
คาถาธรรมบท ๒๖: ความเป็นพราหมณ์ 28 นัยยะ เธอจงเปลื้องราคะ และ โทสะเสีย
เหมือนมะลิที่ปล่อยดอกเหี่ยวแห้ง |
1051 |
คาถาธรรมบท ๒๐ : มรรคแปด ประเสริฐกว่าทางทั้งหลาย อริยสัจจ์ประเสริฐกว่าสัจจะทั้งหลาย วิราคธรรมประเสริฐกว่าธรรมทั้ง- |
|
|
7 |
คารว คาวี คิด คัมภีร์ คำ |
930 |
คารวสูตรที่ ๒ แรกตรัสรู้ ทรงเห็นว่าไม่มีใครมีศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติ และวิมุตติญาณทัศนะเท่า จึงทรงเคารพในธรรมที่ตรัสรู้ |
231 |
คาวีสูตร (อุปมาเรื่องแม่โคกับภิกษุ) |
1184 |
คิด-เรื่องที่ควรคิด-ไม่ควรคิด อย่าตรึกอกุศลวิตกอันลามก คือกามวิตก พยาบาท วิหิงสา เรื่องที่ควรคิดคือ(อริยสัจสี่) นี้ทุกข์ นี่เหตุเกิด |
S8-277 |
คัมภีร์ โลกายตะ ทรงห้ามภิกษุสอน หรือศึกษาคัมภีร์ทางโลก คือการเรียนการสอนเรื่องทางโลกที่ไม่เป็นไปเพื่อการดับทุกข์ |
865_4 |
คำจริง- คำเท็จ พูดคำจริงบ้าง คำเท็จบ้าง คติสองอย่างคือ นรก หรือกำเนิดสัตว์เดียรัจฉาน อย่างใด อย่างหนึ่ง |
S6- 140 |
คำทำนายเรื่องจีวร และความเป็นอยู่ที่ต้องการความสวยงามเหินห่างจากที่นอนอันเป็นป่า ป่าชัฏ เงียบสงัด จักมั่วสุมอยู่แต่ในเมือง |
S9-43 |
คำแต่งใหม่ บทสวดนอกศาสนา และ ความเข้าใจผิดของชาวพุทธ |
Book502 |
คำแต่งใหม่ และ ความเข้าใจผิด เช่น. การสร้างพระพุทธรูป เทศมหาชาติ กรวดน้ำ ทำน้ำมนต์ บทสวดยอดนิยม พาหุง ชินบัญชร... |
1478 |
คำนวณอายุเทวดา กามภพ เทียบกับุมนุษย (จาตุมหา อายุ 500 ปีทิพย์ คิดเป็น 9 ล้านปีมนุษย์) (50*30*12*500) |
S3- 13 |
คำสอน ความสำคัญในคำสอนของตถาคต (ตถาคตนั้น แสดงธรรมไพเราะในเบื้องต้น ท่ามกลาง ที่สุด) |
S2-77 |
คำสอน ที่ทรงสั่งสอนบ่อยมาก (ขันธ์5 ไม่เที่ยง) |
147 |
คำสอนของตถาคต ไม่ขัดแย้งกับลัทธิอื่น (มหาสีหนาทสูตร) ตรัสกับ อเจลกกัสสป จากที่เคยเข้าใจว่าทรงติ ตบะ ทุกลัทธิ |
|
|
|
|
8 |
คิญ คิริ คูถ เครื่อง โค |
708 |
คิญชกาวสถสูตรธาตุ .. อวิชชา นี้เป็นธาตุใหญ่.. สัญญาที่เลว ทิฐิเลว วิตกเลว เจตนาเลว เกิดขึ้นเพราะอาศัยธาตุที่แตกต่างกัน |
157 |
คิริมานันทสูตร- อาพาธสูตร สัญญา 10 ประการ ว่าด้วยการหาย อาพาธของพระคิริมานนท์ |
S5- 92 |
คูถ- ผู้กินคูถ (พิษภัยเรื่องลาภสักการะ นัยยะที่ 6) |
S4- 79 |
คูถ- ผู้จมมิดในหลุมคูถ (ทรงไม่เห็นธรรมขาวของเทวทัตแม้ปลายขน จึงพยากรณ์ว่าต้องไปเกิดเป็นสัตว์นรก ตั้งอยู่ชั่วกัลป์หนึ่ง) |
649 |
เครื่องเกาะของธรรมารมณ์-ใจเป็นเครื่องเกาะเกี่ยวของธรรมารมณ์ ธรรมารมณ์เป็นเครื่องเกาะเกี่ยวของใจหามิได้ |
648 |
เครื่องเกาะของรูป -จักษุ เป็นเครื่องเกาะของรูป รูปเป็นเครื่องเกาะของจักษุ ..หามิได้ ความพอใจอาศัยจักษุ และรูปคือเครื่องเกาะ |
598 |
เครื่องเจาะแทงกิเลสปัญญา เครื่องเจาะแทงกิเลส (นิพเพธิกปัญญา) คือรู้ อริยสัจสี่ |
845 |
เครื่องตัดโวหาร ๘ ประการ : ธรรม ๘ ประการย่อมตัดขาดโวหารในวินัยของพระอริยะ ปาณาติบาต พึงละได้เพราะไม่ฆ่าสัตว์ ... |
S3-18 |
เครื่องรองรับจิต กุมภสูตร ธรรมเครื่องรองรับจิต (มรรค8 เปรียบเหมือนหม้อ เครื่องรองรับจิต ไม่ให้กลิ้งไปได้) |
585 |
เครื่องนำไปสู่ภพ พืชของภพ เหตุเกิด เครื่องจูงไปสู่ความเป็นภพ ฉันทะ ราคะ นันทิ ตัณหาและอุปายะ(กิเลส) |
S4- 77 |
โค- กูเป็นโค (ลาที่เดินตามฝูงโค แล้วร้องว่า “กูก็เป็นโค" ก็ไม่ต่างกับภิกษุที่ไม่ประพฤติสีลสิกขา แต่ก็ประกาศว่า ข้าเป็นภิกษุุ) |
264 |
โค ฝูงโคว่ายข้ามแม่น้ำ-จูฬโคปาลสูตร (อุปมาด้วยฝูงโคว่ายข้ามแม่น้ำกับบุคคล5 จำพวก อรหันต์ อนา สกทา- โสดา-สัทธา+ธัมมา |
1626 |
โคตรภู คือภิกษุนอกรีตที่จะมีขึ้นในอนาคต ที่มีเพียงผ้ากาสาวะพันคอ..โคตรภูบุคคลนั้นต่ำกว่าสัทธานุสารี แต่สูงกว่าปุถุชน |
1440 |
โคลิสสานิสูตร ว่าด้วยอรัญญิกธุดงค์ (เรื่องมารยาทและคุณสมบัติของพระป่า) พระสารีบุตรปรารภ กับ โคลิสสานิภิกษุ |