|
|
8 |
ปฎิจจ |
475 |
ปฏิจจสมุปบาท แต่ละอาการ (โดยละเอียด) ก็ชรามรณะ เป็นอย่างไรเล่า? ก็ชาติ ก็ภพ.... ก็สังขารทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า |
973 |
ปฏิจสมุปบาท ก่อนตรัสรู้ ทรงพิจารณาปฏิจจ (สายเกิด-ดับ) ตลอด ๗ วัน เป็นอนุโลม+ปฏิโลม(ทบทวน)ตลอดปฐมยาม |
873 |
ปฏิจจสมุปบาท รวม 5 ชุด จำนวน 88 พระสูตร |
S8-265 |
ปฏิจจสมุปบาท แบบย่อ สายเกิด-สายดับ 11 อาการ นับจาก สังขรทั้งหลายไปจบที่ ชรามรณะ |
139 |
ปฏิจจสมุปบาท และ กฏอิทัปปัจยตา บทสวด แบบย่อ(ไทย) แบบเต็ม (ไทย-บาลี) |
784 |
ปฏิจจสมุปบาท-นานานัตตธาตุ.. ปฏิจจสมุปบาทแห่งอารัมมณลาภ นานัตตะ (การได้อารมณ์หก) |
694 |
ปฏิจจสมุปบาทเป็นธรรมลึกซึ้ง ทั้งมีกระแสความลึกซึ้ง เพราะไม่รู้
ไม่แทงตลอดธรรมนี้ หมู่สัตว์นี้จึงเป็นเหมือนเส้นด้ายที่ยุ่ง |
S7- 182 |
ปฏิจจ- ผู้นั้นกระทำ ผู้นั้นเสวย ไม่มีผู้นั้น หรือผู้อื่น ...นี้เป็นส่วนสุด (ไม่ใช่สายกลาง) ที่หนึ่ง |
S7- 181 |
ปฏิจจ-ทำให้อยู่เหนือความมี และความไม่มีของสิ่งทั้งปวง.. สิ่งทั้งปวง มีอยู่หรือหนอ? นี้เป็นส่วนสุด(มิใช่ทางสายกลาง) |
480 |
ปฏิจจ-ที่แสดงว่าไม่มีตัวตน ไม่มีบุคคลที่กลืนกินวิญญาณาหาร ไม่มีบุคคลกระทำผัสสะ มีแต่ธรรมชาติที่เป็นปฏิจจสมุปปันน |
476 |
ปฏิจจ-ปัจจยาการ แม่เพียงอาการเดียว ก็ยังเรียกว่า ปฏิจจสมุปบาท (อิทิป)คือความตั้งอยู่แห่งธรรมดา คือกฎตายตัว....) |
481 |
ปฏิจจ-ไม่มีตนเองหรือผู้อื่น ที่ก่อสุข-ทุกข์... นอกจากสำคัญมั่นหมายมาแต่ต้นว่า เวทนานั้นเป็นของตน หรือของบุคคลอื่น |
S1- 06 |
ปฏิจจสมุปบาท กฎธรรมชาติสูงสุด คือความตั้งอยู่แห่งธรรมดา |
363 |
ปฏิจจสมุปบาท คือกฎสูงสุดของธรรมชาติ คือความตั้งอยู่แห่งธรรมดา คือกฎตายตัวแห่งธรรมดา คือเมื่อมีสิ่งนี้เป็นปัจจัย... |
397 |
ปฏิจจสมุปบาท คือธรรมอันเป็นธรรมชาติอาศัยกันแล้วเกิดขึ้น เป็นตถตา,เป็นอวิตถตาเป็น,เป็นอนัญญถตา,เป็นอิทัปปัจจยตา |
199 |
ปฏิจจสมุปบาท คืออริยสัจ ๑ (ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค) |
170 |
ปฏิจจสมุปบาท คืออริยสัจ ๑ (เพราะอาศัยซึ่งธาตุทั้งหลาย ๖ ประการ การก้าวลงสู่ครรภ์ ย่อมมี) |
S6- 160 |
ปฏิจจสมุปบาท เป็นเรื่องลึกและดูลึก พระอานท์ ได้กราบทูลว่า " น่าอัศจรรย์ พระเจ้าข้า! ไม่เคยมีแล้วพระเจ้าข้า |
482 |
ปฏิจจสมุปบาท เป็นหลักการพยากรณ์อรหัตตผล พระศาสดาทดสอบปัญญาของพระสารีบุตร เรื่องปฏิจจสมุปบาท |
407 |
ปฏิจจสมุปบาท มีเมื่อมีการกระทบทางอายตนะ เพราะอาศัยจักษุด้วย รูปทั้งหลายด้วย จึงเกิดจักขุวิญญาณ การประจวบพร้อม.. |
302 |
ปฏิจจสมุปบาท มีเมื่อมีการกระทบทางอายตนะ (ผัสสะ ๖ อายตนะ คือตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ) |
398 |
ปฏิจจสมุปบาท ไม่มีผู้นั้น หรือผู้อื่น เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย; เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ |
451 |
ปฏิจจสมุปบาท แห่ง มิคสัญญีสัตถันตรกัปป์ ธรรมะของมนุษย์ค่อยๆเสื่อมลงจนถึงยุคมนุษย์อายุ10ปี จนถึงฆ่ากันตลอด7 วัน |
1110 |
ปฏิจจสมุปบาท กับ ปัญจุปาทานขันธ์ ดูก่อนภิกษุ ท.อาชีพต่ำที่สุด ในบรรดาอาชีพทั้งหลาย คือการขอทาน |
396 |
ปฏิจจสมุปบาท อุปมาด้วยการขึ้นลงของน้ำทะเล .. เมื่อน้ำมหาสมุทรขึ้น แม่น้ำใหญ่ขึ้น น้ำในแม่น้ำน้อยขึ้น น้ำในห้วยย่อมขึ้น |
953 |
ปฏิจจสมุปบาท ขยายความ ผัสสะมี เพราะปัจจัยคือนามรูป,หมู่แห่งนาม ย่อมมีได้โดยอาศัยอาการ ลิงค์ นิมิต อุเทศ |
1449 |
ปฏิจจสมุปบาท พระสารีบุตรกับ พระโกฏฐิตะ .ชรามรณะบุคคลกระทำเองหรือหนอ? สา..กระทำเองก็ไม่ใช่ บุคคลอื่นกระทำก็ไม่ใช่ |
1400 |
ปฏิจจสมุปบาทเป็นอย่างไร ปฏิจจสมุปปันนธรรมเป็นอย่างไร (ปัจจยสูตร ว่าด้วยปัจจัย) |
|
|
9 |
ปฏิปทา ปฏิปักษ์ ปฏิบัติ ปธาน ปฐม ปปติ |
1397 |
ปฏิปทาสูตรที่ ๔ (มรณาสติ) ปัจจัยแห่งความตายมีมาก งูพึงกัดเราก็ได้ เราพลาดล้มลง อาหารไม่ย่อย มนุษย์หรือ อมนุษย์เบียดเบียน |
1559 |
ปฏิปทา ๓ อย่าง ปฏิบัติหยาบช้า (คิดว่ากามไม่มีโทษ) ปฏิบัติทรมานตน (เลียมือยืนขาเดียว) ปฏิบัติอย่างกลาง (แบบของตถาคต) |
279 |
ปฏิปทา ๔ ประการ ทุกขาปฏิปทาฯปฏิบัติลำบากรู้ช้า-ทุกขาปฏิปทารู้เร็ว-สุขาปฏิปทาฯปฏิบัติสะดวกรู้ช้า ) |
353 |
ปฏิปทาเพิกถอนความมั่นหมายทั้งปวง |
615 |
ปฏิปทาวรรค ทุกขาปฏิปทา-สุขาปฏิปทา ปฏิปทาเพื่อสิ้นอาสวะ(ทุกขาปฏิบัติลำบาก รู้เร็ว-รู้ช้า)(สุขา ปฏิบัติสะดวก รู้เร็ว-รู้ช้า) |
395 |
ปฏิปทาให้ถึงความเป็นสุนัขและโค ผู้ใดประพฤติวัตรดั่งสุนัขและโค คติของเขาไม่อาจพ้นไปจากนรก หรือกำเนิดเดรัจฉาน |
122 |
ปฏิปุจฉาวินีตา ปริสา โน อุกกาจิตวินีตา-บริษัทที่เลิศ ....(พระองค์ให้ฟังแต่คำสอนของคถาคตเท่านั้น) |
1119 |
ปฏิปักษ์ ๑๐ ประการ (กัณฏกสูตร) สิ่งที่อยู่ตรงกันข้ามกัน เช่นคลุกคลีเป็นปฏิปักษ์ยินดีในที่สงัด เสียงเป็นปฏิปักษ์ต่อปฐมฌาน ฯลฯ |
701 |
ปฏิบัติเพื่อความสิ้นทุกข์ เพื่อความดับไปแห่งชรา และมรณะ สัมมสสูตรที่ ๑ เมื่ออุปธิมี ชราและมรณะจึงมี ตัณหามี อุปธิจึงมี |
1095 |
ปฏิสัลลาณสูตร (ผู้อยู่ด้วยความไม่ประมาท) เลื่อมใสและไม่หวั่นไหวในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ศีลไม่ขาด และทำยิ่งๆขึ้นไป |
S3- 26 |
ปธาน4 สัมมัปปธานสี่ (ยับยั้งอกุศล เพียรสร้างกุศล) |
1343 |
ปฐมปัณณาสก์ (หมวดธรรม 2 อย่าง ที่เป็นคู่ตรงข้ามกัน หรือเป็นปฏิปักษ์กัน) |
697 |
ปฐมเทศนา ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร กามสุข..อริยสัจสี่..มรรค8 ทางสายกลาง.. ญาณทัสสนะ..เทวดาบันลือเสียงทั่วทั้งโลกธาตุ |
1608 |
ปฐมเทศนา ลำดับเหตุการณ์ ในการแสดงธรรมแก่ปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ |
689 |
ปฐมมหารุกขสูตร ความพอใจเป็นปัจจัยแห่งอุปาทาน ทำให้ตัณหาเจริญ อุปมาเหมือนต้นไม้ใหญ่ ย่อมดูดโอชารสขึ้นไปเบื้องบน |
S6- 137 |
ปฐมฌาน เป็นไฉน พระมหาโกฏฐิกะ ถามพระสารีบุตร |
687 |
ปฐมสังโยชนสูตร ตัณหาคือเชื้อแห่งอุปทาน เหมือนน้ำมันที่กำลังลุก... ดับน้ำมัน เท่ากับเชื้อไฟ เท่ากับดับอุปทาน ทุกข์จึงดับลง |
936 |
ปปติตสูตร ผู้ประกอบด้วย และผู้ไม่ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ คือ ศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติ เรียกว่าผู้ตกไปจากธรรมวินัยนี้ |
|
|
10 |
ประตู ประ ปริ ปล่อย ปลง |
S3- 08 |
ประตูนครแห่งความไม่ตาย ตถาคต ฉลาดในโลกนี้และโลกอื่น ประตูนครแห่งความ ไม่ตาย ตถาคตเปิดโลงไว้แล้ว |
1224 |
ผู้ประพฤติธรรมสมควรแก่ธรรม ภิกษุเบื่อหน่ายในรูป เวทนาสัญญาสังขารวิญญาณ เห็นว่าขันธ์๕ไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตา |
1007 |
ประมาทในชีวิต รวม 19 พระสูตร ความไม่ประมาท..วันคืนล่วงไปๆ บัดนี้เราทำอะไรอยู่.. สังขารมีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา |
1497 |
ปรายนสูตร ภิกษุสนทนากันว่า อะไรคือส่วนสุดที่๑ อะไรคือส่วนสุดที่๒ อะไรเป็นท่ามกลาง อะไรเป็นเครื่องร้อยรัด...คำตอบคือผัสสะ |
1095 |
ปฏิสัลลาณสูตร (ผู้อยู่ด้วยความไม่ประมาท) เลื่อมใสและไม่หวั่นไหวในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ศีลไม่ขาด และทำยิ่งๆขึ้นไป |
S5- 124 |
ประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อให้เขานับถือ เราประพฤติ เพื่อสำรวม เพื่อละ เพื่อคลายกำหนัด เพื่อดับสนิทซึ่งทุกข์ |
220 |
ปริชานสูตรที่ ๑ (บุคคลยังไม่รู้ยิ่ง ยังไม่กำหนดรู้ ยังไม่คลายกำหนัด ยังละไม่ได้..) |
459 |
ปรินิพพาน พระผู้มีพระภาคเสด็จปรินิพพาน ลำดับขั้นการเข้าฌานสมาบัติ เกิดแผ่นดินไหว มีท่อน้ำจากอากาศเพื่อดับจิตกาธาร |
983 |
ปริพาชก วัตรของเดียร์ถีย์ ตปัสสีวัตร(เปลือยกาย)..ลูขวัตร(ทำตัวสกปรก)..เชคจฉิวัตร(มีสติก้าว-ถอย) ปวิวิตตวัตร (อยู่โดดเดี่ยว) |
1037 |
ปริพาชกวัจฉโคตร วัจฉะเข้าใจผิดเรื่องญาณทัศนะของพระผู้มีพระภาค สิ่งที่เข้าใจถูกคือ พระองค์มีวิชชา ๓ (เตวิชชะ) |
278 |
ปริหานสูตร : ปริหานธรรม-อปริหานธรรม-อภิภายตนะ๖ (ผู้มีธรรมอันไม่เสื่อม ภาวะที่มีอำนาจเหนืออายตนะ) |
798 |
ปริวัฏฏ์สาม อริยสัจสี่ อันมีรอบ มีอาการสิบสอง..สัจจญาณ กิจจญาณ กตญาณ (ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่างเกิดขึ้นแล้ว) |
685 |
ปริวีมังสนสูตร ทุกข์นี้มีอะไรเป็นเหตุ มีอะไรเป็นสมุทัย ทุกข์นี้แลมีชาติเป็นเหตุ มีชาติเป็นสมุทัย ภิกษุนั้นย่อมรู้ความดับแห่งชรา |
S4- 72 |
ปริยัติที่เป็นงูพิษ (ภิกษุที่ไมได้่ใคร่ครวญด้วยปัญญา ว่าเป็นโมษะบุรุษ เปรียบเหมือนอสรพิษ ที่ฉกอวัยวะของภิกษุนั้นได้) |
S2- 66 |
ปล่อยวาง-ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับไม่อาจจะหลุดพ้น (รู้จักการปล่อยวาง) |
629 |
ปลงสังขาร มารเข้าเฝ้าขอให้พระองค์ปรินิพพาน..เกิดแผ่นดินไหวขณะปลงสังขาร..ตรัสเรื่อง อภิภายตนะ8 วิโมกข์8 |
1411 |
พิธีปลงบาป แบบสมณะพราหมณ์ สนานเกล้านุ่งห่มผ้าไหม ทาแผ่นดินด้วยโคมัยสด ลาดด้วยหญ้าคาที่เขียวสดแล้วสำเร็จการนอน |
1411 |
พิธีปลงบาป แบบสาวกของตถาคต ปลงบาปจากปาณาติบาต(ละฆ่าสัตว์) ละอทินนา..ละอภิชฌา ละพยาบาท ละมิจฉาทิฐิ |
|
|
11 |
ปชา ปสาท ปัจเจก ปัจจัย ปัจฉิม ปัจจุบัน |
1385 |
พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี (ภิกษุณีอรหันต์) เอตทัคคด้าน "ผู้รู้ราตรีนาน" |
470 |
ปสาทสูตร ความเลื่อมใสในสิ่งเลิศ ๔ ประการ เลื่อมใสในพระพุทธเจ้า- อริยมรรคมีองค์ ๘- เลื่อมใสในวิราคะ- เลื่อมใสในพระสงฆ์ |
S6- 158 |
ปสาทสูตร ความเลื่อมใสในสิ่งเลิศ ๔ ประการ เลื่อมใสในพระพุทธเจ้า- มรรค8- วิราคะ(คลายความพอใจ) พระสงฆ์ |
785 |
ปสาทกรธัมมาทิบาลี ภิกษย่อมเจริญฌาน เมตตาจิต สติปัฏฐาน๔ สัมมัปทาน๔ อิทธิบาท๔ อินทรีย์๕ พละ๕ โพชฌงค์๗ มรรค๘ |
1373 |
พระเจ้าปเสนทิโกศล สดับรับฟังพระธรรมเทศนาจากพระอานนท์ เรื่อง สมาจาร ๓ ได้ถวายผ้าพาหิติกา(ผ้าทอ)ขนาด16*8 ศอก |
1526 |
ปัจเจกพุทธเจ้า ๕๐๐ องค์.. พระปัจเจกพุทธเหล่านั้นเมื่อกำลังเข้าไปสู่ภูเขาอิสิคิลินี้ คนแลเห็น แต่ท่านเข้าไปแล้วคนไม่แลเห็น |
1063 |
ปัจจัยสูตร เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชราและมรณะ ... เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ |
882 |
ปัจจัย ที่ทำให้สัตว์ทั้งหลายเข้าถึงเทวดา หรือนรก.. ความประพฤติกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม สุจริต/ทุจริต |
455 |
ปัจฉิมคาถา สติปัฏฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔อินทรีย์ ๕ พละ ๕ โภชฌงค์ ๗ มรรคมีองค์ ๘ ศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติ มหาประเทศ ๔ |
458 |
ปัจฉิมยามแห่งราตรี และ สาวกองค์สุดท้าย เรื่องราวที่น่าสนใจในราตรีสุดท้ายแห่งการเสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน |
829 |
ปัจจุบัน ภัทเทกรัตตสูตร ผู้มีราตรีหนึ่งเจริญ (ทำปัจจุบันให้ดีที่สุด) บุคคลไม่ควรคำนึงถึงสิ่งที่ล่วงแล้ว ไม่มุ่งหวังสิ่งที่ยังไม่มาถึง |
|
|
12 |
ปัญจวัคคีย์ ปัญจ ปัญญา ปัพพต ปัพโต |
1608 |
พระพุทธเจ้าสอนอะไรกับปัจจวัคคีย์ ..ลำดับเหตุการณ์ ในการแสดงธรรมแก่ปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ (ปฐมเทศนา) |
670 |
ปัญจวัคคีย์ ทูลขอบรรพชาอุปสมบท สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความ ดับเป็นธรรมดา” |
975 |
ปัญจวัคคีย์ : พระองค์ยังไม่บรรลุ อุตตริมนุสสธรรม : เป็นผู้มักมาก.. ตถาคตตรัสรู้เองโดยชอบ พวกเธอจงเงี่ยโสตสดับ |
|
ปัญจวัคคีย์ ธัมมจักกัปป- ปฐมเทศนา : ส่วนสุดสองที่ไม่ควรเสพ คือกามสุข-ทำความลำบากแก่ตน ทางสายกลางคือมรรค๘ |
|
ปัญจวัคคีย์ ดวงตา ญาณ ปัญญา วิทยา แสงสว่าง : ทุกข์-ควรกำหนดรู้..สมุทัย-ควรละ..นิโรธ-ควรทำให้แจ้ง..ปฏิปทา..ควรให้เจริญ |
|
ปัญจวัคคีย์ ญาณทัศนะมี ๓ รอบ ๑๒ อาการโกณฑัญญะมีดวงตาเห็นธรรม เหล่าเทวดา บันลือธรรมจักรอันยอดเยี่ยม จนถึงพรหมโลก |
976 |
ปัญจวัคคีย์ ทูลขอบรรพชาอุปสมบท : พระโกณฑัญญะ บรรลุธรรมแล้ว จากนั้นวัปปะ ภัททิยะ มหานามะ อัสสชิ ก็ตามมา |
|
ปัญจวัคคีย์ ทรงแสดงอนัตตลักขณสูตร : รูปเป็นอนัตตา เวทนา.. สัญญา.. สังขาร เป็นอนัตตา ขันธ์ทั้ง ๕ จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ |
|
ปัญจวัคคีย์ ตรัสถามความเห็นของปัญจวัคคีย์ รูปเที่ยงหรือไม่เที่ยง ไม่เที่ยงพระเจ้าข้า ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุข |
|
ปัญจวัคคีย์ ตรัสให้พิจารณาโดยยถาภูตญาณทัสสนะ: เธอพึงเห็นรูปด้วยปัญญาอันชอบว่านั่นไม่ใช่ของเรา ไม่เป็นเรา ไม่ใช่ตนของเรา |
838 |
ปัญจราชสูตร...ยอดสุดแห่งความพอใจ นั่นแหละ เป็นยอดใน เบญจกามคุณ |
1336 |
ปัญจัตตยสูตร ความเห็นผิด(ทิฐิ) ๕ ประการ พวกหนึ่ง กล่าวว่าอัตตาที่มีสัญญา เป็นของยั่งยืน พวกหนึ่ง กล่าวว่า อัตตาที่ไม่มีสัญญา |
1400 |
ปัจจยสูตร ว่าด้วยปัจจัย (ปฏิจจสมุปบาท เป็นอย่างไร ปฏิจจสมุปปันนธรรมเป็นอย่างไร) |
598 |
ปัญญา เครื่องเจาะแทงกิเลส (นิพเพธิกปัญญา) คือรู้ อริยสัจสี่ บัณฑิตผู้มีปัญญาย่อมแทงตลอดซึ่งเนื้อความแห่งสัจจะนั้น |
S5- 104 |
ปัญญา สติ กับนามรูปดับ เพราะวิญญาณดับ (สติอยู่ส่วนไหนของขันธ์5) |
436 |
ปัญญา- ศีล อยู่เคียงคู่กับปัญญาเสมอ ศีลชำระปัญญาให้บริสุทธิ์ ปัญญาก็ชำระศีล ศีลอยู่ที่ใดปัญญาอยู่ที่นั้น |
119 |
ปัญญามาก - บัณฑิตเป็นผู้มีปัญญามาก (ไม่คิดทำให้ตนเองและผู้อื่นให้ลำบาก. คิดเกื้อกุลเพื่อประโยชน์ตนเอง และผู้อื่น) |
1158 |
ปัญญา- ความเจริญ ด้วยปัญญา เลิศกว่าความเจริญทั้งหลาย |
126 |
ปัพพตสูตร- กัปหนึ่ง นานแค่ไหน (อุปมาหินแท่งทึบ กว้าง ยาว สูง 1 โยชน์ ทุก 100 ปี ลูบด้วยผ้ากาสี 1 ครั้ง) |
885 |
ปัพพโตปมสูตร : สิ่งที่ควรกระทำเมื่อมหาภัยทำให้มนุษย์พินาศ คือการประพฤติธรรม อย่างสม่ำเสมอ การบุญ สร้างกุศล |
|
|
13 |
ปาฏิก ปาฏิหาริย์ ปาติโมกข์ |
1625 |
ปาริฉัตตกพฤกษ์ ดอกไม้เทวดาชั้นดาวดึงส์ ผลิ ดอก ออกใบเหลือง ส่งกลิ่นไปไกล 100 โยชน์ (1600 กม.) ตลอด5เดือนทิพย์ |
886 |
ปาฏิกสูตร สัตว์จุติจากชั้นอาภัสสรพรหม ย่อมเข้าถึงวิมานพรหมที่ว่างเปล่า..พรหมเกิดทีหลังจะคิดว่า พรหมที่เกิดก่อนย่อมเป็นใหญ่ |
951 |
ปาฏิกสูตร ธรรมที่เราได้แสดงไว้ ย่อมนำผู้ประพฤติ ให้สิ้นทุกข์โดยชอบ เช่นนี้ แล้วเธอจะปรารถนาอิทธิปาฏิหาริย์ไปทำไม |
1522 |
ปาฏิกสูตร สุนักขัตตะ เข้ามาบวชเพื่อเรียนรู้ปาฎิหาริย์จากพระพุทธเจ้าแต่มองไม่เห็นว่าที่พระองค์แสดงนั้น คือปาฎิหาริย์เพื่อสิ้นทุกข์ |
653 |
ปาฏิปุคคลิกมี ๑๔...ให้ทานแบบเจาะจง อานิสงต่างกัน และ ทานที่ถึงแล้วในสงฆ์ มี ๗ อย่าง |
293 |
ปาฏิหาริย์ - เกวัฏฏสูตร เรื่องนายเกวัฏฏ (ชาวประมง) สอบถามพระพุทธองค์เรื่องอิทธิปาฏิหาริย? อันเป็นธรรมยิ่งยวด |
S5- 127 |
ปาฏิหาริย์ - ทรงแสดงปาฏิหาริย์ให้เหล่าชฏิล ถึง 12 ครั้ง เมื่อพระองค์เสด็จมาประทับ ณ โรงบูชาเพลิง ของเหล่าชฏิล |
292 |
ปาฏิหาริย์ - อนุสาสนีปาฏิหาริย์ (ตรัสกับเกวัฏฏะ เรื่อง อนุศาสนีปาฏิหาริย์) |
1242 |
ปาฏิหาริย์ของพระพุทธเจ้า ทรงมีปาฏิหาริย์ชนิดที่ คนเขลามองไม่เห็นว่าเป็นปาฏิหาริย์ ตรัสกับ สุนักขัตตะ
|
1239 |
พระสาคตะ ผู้ฉลาดในเตโชธาตุ แสดงอิทธิปาฏิหาริย์ โดยดำลงแผ่นหินแล้วผุดขึ้นต่อหน้าพระพักตร์ |
468 |
ปาติโมกข์สิกขาบท 150 ข้อ(227) สิกขาบท 150 ถ้วน ตามพระไตรปิฎกฉบับหลวง และฉบับอื่น (ตารางเปรียบเทียบ) |
466 |
ปาติโมกข์สิกขาบท 227 ข้อ (วินัยของพระ) ปาราชิก ๔ ข้อ สังฆาทิเสส ๑๓ ข้อ อนิยตกัณฑ์ ๒ ข้อ นิสสัคคิยปาจิตตีย์ ๓๐ ข้อ |
586 |
ปาติโมกข์ - มหากัปปินะ (พระอรหันต์) ดำริจะไม่ทำอุโบสถพระพุทธเจ้ารู้วาระจิต จึงหายตัวมาปรากฎต่อหน้า |
587 |
ปาติโมกข์- สวดปาติโมกข์ ในวันอุโบสถ-วิธีทำอุโบสถ 3 อย่าง ภิกษุ ๔ รูป สวดปาติโมกข์ ..๓ รูป ทำปาริสุทธิอุโบสถ |
|
|
14 |
ปายา ปาร ปาริจ ปาลิ ปาวา ป่า ปิณ ปิ ปิติ |
1341 |
ปายาสิราชัญญสูตร เจ้าปายาสิ มีทิฐิว่า 1.โลกหน้าไม่มี 2.สัตว์ผุดเกิดไม่มี 3. กรรมสัตว์ทำดีทำชั่วไม่มี |
S3- 19 |
ปารสูตร ธรรมเป็นเครื่องให้ถึงฝั่ง (นิพพาน) (มรรค8) |
1366 |
ปาริฉัตตกสูตร :ปาริฉัตตกพฤกษ์ ดอกไม้แห่งเทวดาชั้นดาวดึงส์ บานเต็มที่แล้วแผ่รัศมีไปได้ ๕๐ โยชน์ จะส่งกลิ่นไปได้ ๑๐๐ โยชน์ |
S7-203 |
ปาริจริยานุตตริยะ (การบำรุงที่ดี-การบำรุงที่เลว) บำรุงสมณะผู้เห็นผิดปฏิบัติผิดบำรุงที่เลว บำรุงผู้ศรัทธาตถาคตบำรุงที่เยี่ยม |
S3- 34 |
ปาริจริยานุตตริยะ (บุคคล..บำรุงกษัตริย์บ้าง พราหมณ์บ้าง บำรุงคนชั้นสูงสมณะ ผู้ปฏิบัติผิด เป็นการบำรุงที่เลว) |
123 |
ปาลิเลยยสูตร ว่าด้วยการรู้เห็นที่ทำให้สิ้นอาสวะ |
575 |
ปาวา ภิกษุเมืองปาวา 30 รูป ฟังธรรมแล้วหลุดพ้น ติงสมัตตาสูตร สมัยเกิดเป็นโคถูกฆ่าตัดคอ โลหิตที่ไหลมากกว่าน้ำในมหาสมุทร |
632 |
ปาวา (เมือง) นาย จุนท กัมมารบุตร ทำภัตตาหาร สุกรมัททวะ ถวายพระผู้มีพระภาค(มื้อสุดท้าย) จนลงพระโลหิตใกล้ปรินิพพาน |
1028 |
ป่างาม สนทนาธรรมเรื่องผู้ทำให้ป่างาม (มหาโคสิงคสาลสูตร) พระสารีบุตร ตั้งหัวข้อถามกับพระเถระว่า "ป่าโคสิงคสาลวัน น่ารื่นรมย์ |
179 |
ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน-ธรรมจักร-ทรงประกาศธรรมจักรที่อิสิปตนมฤคทายวัน (ประกาศ ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ) |
1380 |
ปิยรูป สาตรูป ๖๐ (สิ่งอันเป็นที่รัก-เป็นที่ยินดีในโลก)ที่เกิดจากอายตนะภายใน-ภายนอก ที่ปรุงแต่งจนเกิดเวทนา วิตก วิจาร |
592 |
ปิณฑปาตสูตร ท้าวสักกะจอมเทวดาชั้นดาวดึงส์ปลอมตัวเป็นชาวบ้านเพื่อรอตักบาตรกับ พระมหากัสสป |
S7-212 |
ปิติ-บางคราวทรงมีปีติเป็นภักษา เหมือนพวกอาภัสสรเทพ ... มารได้ดลใจให้ชาวบ้านไม่ถวายบิณฑบาต |
|
|
15 |
ปุก ปุค ปุต ปุณ ปุป ปุพพ ปุริส |
518 |
ปุกกุสาติ ธาตุวิภังค์ 6..แสดงธรรมแก่ปุกกุสาติ ที่โรงปั้นหม้อโดยไม่รู้ว่าผู้แสดงเป็นพระพุทธเจ้า หลังฟังธรรมรู้สึกซาบซึ้ง |
1351 |
ปุคคลปโรปรัญญู เป็นอย่างไร เป็นผู้รู้จักบุคคลโดย ส่วน ๒ คือ บุคคล ๒ จำพวก (พวกหนึ่งต้องการเห็นพระอริยะ อีกพวกไม่ต้องการ) |
691 |
ปุตตมังสสูตร อาหาร ๔ เพื่อความดำรงอยู่ของสัตว์โลกที่เกิดมาแล้ว หรือเพื่ออนุเคราะห์ แก่เหล่าสัตว์ ผู้แสวงหาที่เกิด |
692 |
ปุตตมังสสูตร อาหาร ๔ ว่าด้วยอาการเกิดดับแห่งอาหารสี่ |
S2- 48 |
ปุณโณวาทสูตร (ภิกษุเดินทางไปชนบท) |
124 |
ปุณโณวาทสูตร (แสดงธรรมแก่สาวกที่มีความปริวิตกว่ารู้อย่างไร ถึงการสิ้นไปแห่งอาสวะ).. ปุณชาวสุนาปรันตชนบท |
1519 |
ปุปผสูตร ว่าด้วยพระพุทธองค์ไม่ขัดแย้งกับโลก สิ่งใดที่โลกสมมุติว่ามี เราก็กล่าวว่ามี.. โลกสมมุติว่าไม่มี เรากล่าวว่าไม่มี |
1057 |
ปุพพวิเทหทวีป เรื่องมนุษย์ในโลกธาตุ (อีกกลุ่มหนึ่ง) จูฬนีสูตร โกศลสูตรที่๑ (มนุษย์ในโลกธาตุนี้มี 4 กลุ่ม) |
745 |
ปุริสลัษณะ 32- ลักขณสูตร คำทำนายมหาปุริสลัษณะ 32 ของพระพุทธเจ้า และเหตุปัจจัยอะไรที่สร้างไว้ จึงทำให้ได้ |
|
|
16 |
เปรต เปล่ง |
S10-1 |
เปรตหมอดู เปรตผู้พิพากษา : กุมภัณฑเปรต เคยเป็นผู้พิพากษาโกงชาวบ้าน : มังคุลิตถีเปรต เคยมีอาชีพหมอดู |
S8-271 |
เปรต 21 ประเภท (สรุปย่อ) มีแต่ร่างกระดูก หรือก้อนเนื้อ ชิ้นเนื้อ เป็นร่างชาย ร่างหญิง มีขนเป็นเข็ม ลอยไปในเวหาส์ ฝูงแร้งจิกกิน |
S5- 121 |
เปรต 21 ประเภท แบ่งตามวินัยและลักขณสังยุตตพระบาลี แบ่งได้ 21 ประเภท |
390 |
เปรต มี 21 ประเภท เช่น เปรตที่มีกระดูกติดกันเป็นท่อนๆ มีเนื้อเป็นชิ้นๆ มีเนื้อเป็นก้อน และเปรตที่พระโมคเห็นด้วยญาณ |
673 |
เปรต 21 ชนิด พระโมคคัลลานะเห็นเปรต ถูกเพ่งโทษว่าอวดอุตตริ.. ทำอกุศลกรรมอะไรบ้าง จึงเสวยวิบากเช่นนั้น |
178 |
เปล่งเสียง-ทรงเปล่งเสียงคราวเดียว ได้ยินไปตลอดทุกโลกธาตุ (โลกธาตุแบ่งเป็น ขนาดเล็ก กลาง ใหญ่) |