เว็บไซต์ อนาคามี เผยแพร่ พุทธวจน คำสอนของพระศาสดา คำสอนตถาคต รวมพระสูตรสำคัญ อนาคามี เว็บไซต์เผยแพร่คำสอนของพระพุทธเจ้า
ค้นหาคำที่ต้องการ            

 
 3. อริยสัจสี่ รวบรวมจาก พุทธวจน คำสอนของพระศาสดา 1444
P1442 P1443 P1444 P1445

ฉบับหลวง พุทธวจน อริยสัจจจากพระโอษฐ์ สรุป

คัดมาบางเรื่อง จากหนังสืออริยสัจสี่ ชุด 5 เล่ม จากพระโอษฐ์ หน้า  
     
การฟังอริยสัจ เหมาะสำหรับจิตที่ฟอกแล้วเท่านั้น.. จิตอ่อนโยนปราศจากนิวรณ์  14  
จิตที่ยังไม่ได้ฟอก ยากนักที่จะเห็นนิโรธสัจ.. จิตที่ถูกราคะ โทสะ ปิดกั้น 16  
ผู้รู้อริยสัจ หาหลงสร้างทุกข์ขึ้นเพื่อตัวเองไม่.. เพราะไม่รู้ตามเป็นจริงว่านี้ทุกข์ 20  
ไม่รู้อริยสัจ ก็ยังไม่เป็นสมณพราหมณ์ที่แท้... ยังไม่รู้ทั่วถึงซึ่งทุกข์ และเหตุเกิดแห่งทุกข์  42-1  
ทรงแสวงหา.. อะไรเป็นกุศล ทรงค้นหาว่าอะไรเป็นสิ่งประเสริฐ  52  
ทรงพบ..ว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว 53  

   
เมื่อยังไม่ทรงรู้อริยสัจ...ไม่รู้ปริวัฏสาม ไม่รู้มีอาการสิบสอง  54  
พระนามว่า อรหันตสัมมาสัมพุทธะ ก็เพราะได้ตรัสรู้อริยสัจสี่...เช่นเดียวกับพระพุทธเจ้าในอดีต 57  
ทรงรอบรู้โลก (อริยสัจ)...ตถาคตถอนตัวออกได้แล้วจากโลก ละได้ขาดแล้ว 57-1  
ทรงบันลือสีหนาท ประกาศจตุราริยสัจ..เช่นเดียวกับพระยาราชสีห์ บันลือสีหนาท ๓ ครั้ง 58  
ทรงประกาศ อนุตตรธรรมจักร ซึ่งใครๆ ประกาศไม่ได้..ประกาศ ณ ป่าอิสิปตนมิคทายวัน 60  
สิ่งที่ทรงนำมาสอน ก็เฉพาะเรื่องความพ้นทุกข์...บอกสอนความจริง อันประเสริฐ  61  

   
ทรงพยากรณ์เฉพาะเรื่องอริยสัจสี่..โลกเที่ยง โลกไม่เที่ยงเราไม่พยากรณ์ (ไม่เกิดประโยชน์) 62  
พระพุทธเจ้าในอดีต-อนาคต-ปัจจุบัน ล้วนตรัสรู้อริยสัจสี่.. ทุกพระองค์ตรัสรู้อริยสัจสี่เหมือนกัน 68  
จิตเป็นสมาธิแล้วรู้อริยสัจได้แจ่มใส เหมือนเห็นของในนํ้าอันใส...เจริญสมาธิจะเห็นอริยสัจสี่ 76  
อรืยสัจสี่ (นัยทั่วไป) .. ความเกิด ความตาย เป็นทุกข์ โดยย่อคืออุปาทานขันธ์เป็นทุกข์ 111-1  
อริยสัจสี่ (แสดงด้วยปัญจุปาทานขันธ์).. ที่ตั้งแห่งความยึดมั่นได้แก่ รูป เวทนา...เป็นทุกข์ 112  
อริยสัจสี่ (แสดงด้วยอายตนะหก) ตา หู จมูก ลิ้น..เป็นทุกข์ เป็นเหตุเกิด เหตุดับของทุกข์ 114  
อริยสัจสี่ ในรูปแบบพิเศษ (ธรรม ๔ ประการที่สำคัญ) 114-2  
อริยสัจสี่ มีสามรอบ มีสิบสองอาการ ความจริงอันประเสริฐคือทุกข์ ควรกำหนดรอบรู้.. 119  
อริยสัจสี่ เนื่องกันจนเห็นแต่อริยสัจเดียวไม่ได้.. ผู้ใดเห็นทุกข์ ย่อมเห็นเหตุให้เกิดทุกข์ด้วย 120  

   
ทุกขอริยสัจ เป็นอย่างไรเล่า ? ... ทุกข์คืออะไร 125-1  
ทุกขสมุทยอริยสัจ เป็นอย่างไรเล่า ? ... เหตุเกิดทุกข์คืออะไร 129  
ทุกขนิโรธอริยสัจ เป็นอย่างไรเล่า ?.... เหตุดับไม่เหลือของทุกข์คืออะไร 132  
ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ เป็นอย่างไรเล่า ?... ทางดำเนิน(มรรค)ให้ถึงความดับไม่เหลือ 135  
อริยสัจสี่ โดยนัยยะแห่งปฏิจจสมุปบาท 138  
หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับทุกข์ ความเกิด แดนเกิด ความต่างของทุกข์ ผลของทุกข์ ความดับไม่เหลือ 254  

   
เป็นทุกข์เพราะติดอยู่ในอายตนะ ติดในรูป เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ ธรรมารมณ์ 259  
ทุกข์คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต (ไม่มีบุคคลผู้ทุกข์) ทุกข์เกิดเพราะผัสสะ จึงไม่มีผู้กระทำ 262  
อาการเกิดขึ้นแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์ (สายแห่งปฏิจจสมุปบาท) 328-1  
ทุกข์เกิดเพราะเพลินในขันธ์๕.. สมุทัยแห่งรูป แห่งเวทนา แห่งสัญญา แห่งสังขาร แห่งวิญญาณ 335  
ทุกข์เกิดจากผัสสะ ความทุกข์นั้น อาศัยปัจจัยคือ ผัสสะ 338  
ทุกข์เกิดจากนันทิ คือความเพลิน 339  
ทุกข์เกิดจากฉันทราคะ ฉันทราคะคือสังโยชน์ คืออุปาทานในขันธ์๕ 339-1  
ทุกข์เกิดจากการก้าวลงแห่งนามรูป บุคคลย่อมคิดถึง ย่อมดำริ ย่อมมีใจฝังลงไป ในสิ่งใดอยู่ 343  

   
อาการเกิดขึ้นแห่งโลก (ปัญจุปาทานขันธ์)  345  
ความเกิดขึ้นแห่งอายตนะ นั้นคือความเกิดขึ้นแห่งทุกข์ (อายตนะภายใน และภายนอก) 347  

อาการที่ทุกข์เกิดจากอาหาร คือคำข้าว คือผัสสะ คือมโนสัญเจตนา คือวิญญาณ

348  
อาการที่ทุกข์เกิดมาจากตัณหา คืออัสสาทะ(น่ารักน่ายินดี)ในอายตนะ อันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน 350  
ตัณหาเป็นเชื้อแห่งการเกิด ทรงอุปมาเหมือนกองไฟ ต้องมีเชื้อ ไฟจึงลุกอยู่ได้ 351  
ปัจจัยแห่งทุกข์โดยอเนกปริยาย ทุกข์ใดๆเกิดขึ้น ทุกข์ทั้งปวงนั้นย่อมมีอุปธิเป็นปัจจัย มีอวิชชา.. 368  
ลักษณะของความดับแห่งทุกข์ หลายนัยยะ... ดับผัสสะ ไม่คิดถึงสิ่งใด ละนันทิ สักกายะนิโรธ 739  
     





พุทธวจน : อ่านคำสอนพระศาสดา อ่านแบบสบายตา โดยคัดลอกหนังสือทั้งเล่มมาจัดทำเป็นเว็บเพจ (คลิกอ่านพร้อมดาวน์โหลดไฟล์ pdf)
90 90 90 90
พุทธประวัติ ขุมทรัพย์ อริยสัจ
ภาคต้น
อริยสัจ
ภาคปลาย
ปฏิจจ ปฐมธรรม ตถาคต อนาคามี อินทรีย์
สังวร
สัตว์
สัตตานัง
ทาน
สกทาคามี
ฆราวาส
ชั้นเลิศ
มรรควิธี
ที่ง่าย
อริยวินัย เดรัจฉานวิชา กรรม สมถะ
วิปัสสนา
โสดาบัน นา
ปานสติ
จิต มโน
วิญญาณ
ก้าวย่าง
อย่างพุทธะ
ตามรอย
ธรรม
ภพ ภูมิ
พุทธวจน
สาธยาย
ธรรม
สังโยชน์