|
|
|
เปรียบเทียบ |
หัตถปาทปัพพสูตรที่ ๑ |
|
หัตถปาทปัพพสูตรที่ ๒ |
[๓๐๕] ดูกรภิกษุทั้งหลาย |
|
[๓๐๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย |
เมื่อมือทั้ง ๒ มี การจับ การวางก็ ปรากฏ |
|
เมื่อมือทั้ง ๒ มี การจับและการวางก็ มี |
เมื่อเท้าทั้ง ๒ มีการก้าวไป-ถอยกลับก็ ปรากฏ |
|
เมื่อเท้าทั้ง ๒ มีการก้าวไป -ถอยกลับก็ มี |
เมื่อข้อมี การคู้เข้า เหยียดออกก็ ปรากฏ |
|
เมื่อข้อมี การคู้เข้าและเหยียดออกก็ มี |
เมื่อท้องมี ความหิว กระหายก็ ปรากฏ ฉันใด |
|
เมื่อท้องมี ความหิว กระหายก็ มี ฉันใด |
|
|
|
ดูกรภิกษุทั้งหลาย |
|
ดูกรภิกษุทั้งหลาย |
เมื่อจักษุมี สุข-ทุกข์ภายใน ย่อมเกิดขึ้น
เพราะจักษุสัมผัส เป็นปัจจัย |
|
เมื่อจักษุมี สุข-ทุกข์ภายใน ย่อมเกิดขึ้น
เพราะจักษุสัมผัส เป็นปัจจัย |
เมื่อใจมีอยู่ สุข และทุกข์ ย่อมเกิดขึ้น
เพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัย ฉันนั้นเหมือนกัน |
|
เมื่อใจมีอยู่ สุข และทุกข์ ย่อมเกิดขึ้น
เพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัย ฉันนั้นเหมือนกัน |
|
[๓๐๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย |
|
[๓๐๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย |
เมื่อมือไม่มี การจับและการวาง ก็ ไม่ปรากฏ |
|
เมื่อมือไม่มี การจับและการวางก็ ไม่มี |
เมื่อเท้าไม่มี การก้าวไปถอยกลับก็ ไม่ปรากฏ |
|
เมื่อเท้าไม่มี การก้าวไป -ถอยกลับก็ ไม่มี |
เมื่อข้อไม่มี การคู้เข้า-เหยียดออกก็ ไม่ปรากฏ |
เมื่อข้อไม่มี การคู้เข้า-เหยียดออกก็ ไม่มี |
เมื่อท้องไม่มี ความหิว ก็ ไม่ปรากฏ ฉันใด |
เมื่อท้องไม่มี ความหิวก็ ไม่มี ฉันใด |
|
ดูกรภิกษุทั้งหลาย |
|
ดูกรภิกษุทั้งหลาย |
เมื่อจักษุไม่มี สุขและทุกข์ ย่อมไม่เกิดขึ้น
เพราะจักษุสัมผัส เป็นปัจจัย |
|
เมื่อจักษุไม่มี สุขและทุกข์ ย่อมไม่เกิดขึ้น
เพราะจักษุสัมผัส เป็นปัจจัย |
เมื่อใจไม่มี สุขและทุกข์ ย่อมไม่เกิดขึ้น |
|
เมื่อใจไม่มี สุขและทุกข์ ย่อมไม่เกิดขึ้น |
เพราะมโนสัมผัส เป็นปัจจัย ฉันนั้นเหมือนกัน |
|
เพราะมโนสัมผัส เป็นปัจจัย ฉันนั้นเหมือนกัน |