เว็บไซต์ อนาคามี เผยแพร่คำพระศาสดา เผยแพร่คำสอนตถาคต เว็บไซต์เผยแพร่พระสุตรคำสอนของพระพุทธเจ้า คลิปคำสอน คลิปสาธยายธรรม
  เรียงตามอักษรชุด 14/2
ค้นหาคำที่ต้องการ     

 
1 2 3 4 5 6 7 8 9  
 
10 11 12 13 14

(14/2) หมวด ห อ
1  หญิง  หนู  หมอ  หลีก  หลุดพ้น  
หลัก  หอก  หัต  หิง  เหตุ  เห็น  ให้
อกา อกุ อขณะ อคา อง
อจิน อเจล อชาต อดีต
3 อธรรม อธัม อธิป อนา
อนาถ อนาสวะ อนัน อนุ
4 อบ อปร อปริ อภัย
อภิ อภิส อภิญ อมนุษย์
5 อย่า อรกา
อรณ อรหันต์
6 อริย อริยะ
อริยสัจ อรัญ
7 อวด
อวิชชา
8 อสัง อสัป อสัญ อสูร อหัง
อัก อัค อัจ อัง อัช
9 อัญ อัฎ อัตตา อัตถิ
อัน อัป อัม อัศ อัส
10 อาการ อาคา อาฆาต อาชิน อาฏา
อาทิต อานนท์ อานัน อานาปานสติ
11 อานิส อาเนญ อาบัติ
อาพาธ อามก อายตนะ อายุ
12 อารมณ์ อารัญ
อาสว อาหาร อาหุ
13 อาฬ อิจ อิฏ
อิณ อิทธิ อิทัป อิสิ
14 อินทรีย์
อีศวร
15 อุตร อุทก อุท อุทาน อุทายี
อุบาสก อุบาลี อุบาย อุเบก
16 อุป อุปาทาน
อุโป อุมิค อัปป
17 เอก เอต เอส
เอตัง โอรัม โอวาท
   

11 อานิส อาเนญ อาบัติ อาพาธ อามก อายตนะ อายุ
S3- 17 อานิสงส์ของ กายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต (... ไม่เป็นคนหลงทำกาละ เมื่อแตกกายตายไป ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์)
233 อานิสงส์ของการทรงจำ คำพระศาสดาจนคล่องปากขึ้นใจ อานิสงส์ ๔ ประการ (บทแห่งธรรมทั้งหลายย่อมปรากฏแก่เธอ)
370 อานิสงส์สูงสุดแห่งอานาปานสติ ๒ ประการ และ อานิสงส์ ๗ ประการ.. บรรลุอรหันต์ในปัจจุบัน..บรรลุอรหันต์ในกาลแห่งมรณะ
1436 อานิสงส์ ในการฟังธรรม และสนทนาธรรมตามกาล ย่อมเป็นที่พอใจของพระศาสดา ย่อมซาบซึ้งในอรรถในธรรม แทงตลอด
716 อาเนญช (อาเนญชสมาธิ อาเนญชสมาบัติ อาเนญชาภิสังขาร อาเนญชสัญญา) จากพระไตรปิฏก- คัดเฉพาะ พุทธวจน
715 อาเนญชสัปปายสูตรกาม ทั้งที่มีในภพนี้-ภพหน้า และ กามสัญญา ทั้งที่มีในภพนี้ -ภพหน้า ทั้ง ๒ อย่างนี้เป็นบ่วงแห่งมาร 
1278 อเนญชสูตร บุคคล ๓ จำพวกมีในโลก บรรลุอากาสานัญจายตน บรรลุวิญญาณัญจายตน บรรลุอากิญจัญญายตน
1148 อาบัติ อนาบัติ (แสดงสิ่ง ที่ตรงตามคำสอนของพระศาสดา-อาบัติ-สังเภท / และแสดงสิ่งที่ตรงกันข้าม-อนาบัติ/สังฆสามัคคี)
250 อาพาธ- อัสสชิสูตร (ว่าด้วยความเป็นอนิจจังแห่งเวทนา ตรัสกับพระอัสสชิ ขณะอาพาธ)
469 อาพาธสูตร- คิริมานันทสูตร สัญญา 10 ประการ การหายอาพาธ ของพระคิริมานนท์ อานนท์แสดงธรรมสัญญา10ประการ
157 อาพาธสูตร- คิริมานันทสูตร สัญญา 10 ประการ ว่าด้วยการหาย อาพาธของพระคิริมานนท์
1621 อาพาธ รวมพระสูตร เรื่องอาพาธ มีทุกข์ เป็นไข้หนัก (รวม 20 พระสูตร)
234 อามกธัญญเปยยาล ทุติยวรรคที่ ๘ (ธรรม 10 ประการเพื่อการเป็นเศษดินปลายฝุ่น)
  (อายตนะ อายุ)
997 อายตนะ ภายใน๖ ภายนอก๖ ผัสสายตนะ๖ วิญญาณ ๖ ผัสสะ๖ เป็นแดนเกิดของกรรม และเป็นแดนเกิดของภพ
1438 อายตนะ (ภายใน) เป็นทุกขอริยสัจ อายตนะ ๖ เป็นของร้อน อายตนะ ๖ เป็นของมืด
532 อายตนะ- ความเพลินในอายตนะ เท่ากับเพลินอยู่ในทุกข์ ไม่เพลิน เท่ากับไม่ทุกข์
483 อายตนะ คือ จุดตั้งต้นของปฏิจจ-.. เมื่อจักษุมีอยู่ สุขและทุกข์ย่อมเกิดขึ้น เมื่อจักษุไม่มี สุขและทุกข์ก็ไม่เกิดขึ้น
661 อายุ วรรณะ สุข โภคะ พละ จักกวัตติสูตร อายุอิทธิบาท วรรณมีศีล สุขฌาน 1-4 โภคะเมตตากรุณามุทิตา พละเจโต-ปัญญาวิมุติ
S5- 110 อายุไก่-ทรงอุปมาด้วยลูกไก่ ไก่ผู้พี่ คือทำลาย กระเปาะฟอง ด้วยปลายเล็บเท้า หรือด้วยจะงอยปาก ก่อนไข่ฟองอื่น
386 อายุของเทวดาแต่ละชั้น การแบ่งกัปตามจำนวนการอุบัติของพระพุทธเจ้า.. กัปพระพุทธเจ้ามี 5 กัป
295 อายุทิพย์ บุญกิริยาวัตถุ ประการ (อายุทิพย์ วรรณทิพย์ สุขทิพย์ ยศทิพย์ อธิปไตยทิพย์ รูปทิพย์ เสียงทิพย์ กลิ่นทิพย์ รสทิพย์ )
347 อายุเทวดากับมนุษย์ วิตถตสูตร เทียบอายุเทวดากับมนุษย์ จาตุ 9 ล้านปี. ดาวดึงส์ 36 ..ยามา 144 ..ดุสิต 576 ล้านปี
389 อายุนรก ผู้ติเตียนพระอริยเจ้า ย่อมเข้าถึงนรกตลอดกาล ท้าวสหัมบดีพรหม เป็นผู้มาแจ้งแก่พระศาสดา
773 อายุลดลง เหตุที่ทำให้มนุษย์ จากอายุ ๘๐,๐๐๐ ปี ลดลงเหลือ 10 ปี

12 อารมณ์ อารัญ อาสว อาหาร อาหุ
784 อารมณ์ ๖ -นานานัตตธาตุ.. ปฏิจจสมุปบาทแห่งอารัมมณลาภ นานัตตะ (การได้อารมณ์หก)
134 อารมณ์ คือเชื้อแห่งการเกิด -ภพ-ความเกิดขึ้นแห่งภพใหม่ (อารมณ์คือเชื้อแห่งการเกิด-วิญญาณมีที่ตั้งอาศัย)
S5- 109 อารมณ์ คือเชื้อแห่งการเกิดภพ คิดถึงสิ่งใดอยู่ ดำริถึงสิ่งใด มีจิตฝังลงไปในสิ่งใด สิ่งนั้นย่อมเป็นที่ตั้งแห่งวิญญาณ
213 อารมณ์อันวิจิตร ๕ ประการ หาใช่กามไม่ ความกำหนัดไปตามอำนาจความตริตรึก นั่นแหละคือกามของคนเรา
414 อารัญญกสูตรที่ ๙ ท้าวเวปจิตติจอมอสูร และ ท้าวสักกะ จอมเทวดา เข้าพบฤาษี
916 อาสวัฏฐานิยธรรม เมื่อใด จึงบัญญัติสิกขาบท เมื่ออาสวะมีมากในหมู่สงฆ์ ก็จะทรงบัญญัติ เพื่อกำจัดอาสวะเหล่านั้น
1510 อาสวะ การสิ้นไปแห่งอาสวะ วิมุตติอิงอาศัยญาณในธรรม วิราคะอิงอาศัยวิมุตติ นิพพิทาอิงอาศัยแห่งวิราคะ ทัสสนะอิงอาศัยนิพพิทา
   
691 อาหาร ๔ ปุตตมังสสูตร อาหาร ๔ เพื่อความดำรงอยู่ของสัตว์โลกที่เกิดมาแล้ว หรือเพื่ออนุเคราะห์ แก่เหล่าสัตว์ ผู้แสวงหาที่เกิด
693 อาหาร ๔ อัตถิราคสูตร กวฬีการาหาร ผัสสาหาร มโนสัญ เจตนาหาร วิญญาณาหาร ..ถ้าอาหารสี่มีวิญญาณตั้งอยู่ความยินดีย่อมมี
692 อาหาร ๔ ปุตตมังสสูตร อาหาร ๔ ว่าด้วยอาการเกิดดับแห่งอาหารสี่
1399 อาหาร ๔ ของสัมภเวสีสัตว์ และภูตสัตว์ คือ กวฬีการาหาร ผัสสาหาร มโนสัญเจตนาหาร วิญญาณาหาร
S3-31 อาหารของ อวิชชา นิวรณ์ ๕ อาหารของอวิชชา (นิวรณ์5 คืออาหารของอวิชชา/ทุจริต3- กาย วาจา ใจ ก็เป็นอาหารของนิวรณ์5)
508 อาหารของภวตัณหา ตัณหาสูตร อวิชชาอาหารของภวตัณหา อาหารอวิชชาคือนิวรณ์๕ อาหารนิวรณ์๕ คือทุจริต๓
S3-32 อาหารของภวตัณหา อวิชชาเป็นอาหารของภวตัณหา (ปฏิจจสมุปบาท แห่ง อาหารของภวตัณหา)
S3-33

อาหารของวิชชา และวิมุตติ โพชฌงค์7 เป็นอาหารของวิชชาและวิมุตติ (ปฏิจจสมุปบาท แห่ง อาหารของวิชชาและวิมุตติ)

800 อาหารคือคำข้าว กวฬิงการาหาร อุปมาสามีภรรยาเดินทางสู่ที่กันดาร เมื่อเสบียงหมด จึงฆ่าลูกน้อยผู้น่ารัก ทำเนื้อเค็ม เนื้อย่าง
S7- 184 อาหาร-ทำความเข้าใจเกี่ยวกับอาหาร ถ้าไม่มีราคะ นันทิ ตัณหา ในกพฬีการาหารแล้วไซร้, วิญญาณ ก็เป็นสิ่งที่ตั้งอยู่ไม่ได้
823 อาหุเนยยสูตร (รวม 7 พระสูตร) ภิกษุประกอบด้วยธรรม 6 ,6, 8, 8, 10 ประการ.. บุคคล 9 จำพวก, และบุคคล 10 จำพวก
251 อาหุเนยยสูตร (ภิกษุผู้อยู่ในธรรม ๘ ประการ เป็นผู้ควรคำนับ ควรต้อนรับ ควรทำบุญ ควรทำอัญชลี เป็นนาบุญของโลก )
S4- 45 อาหุเนยยสูตร บุคคล ๑๐ จำพวกนี้ เป็นผู้ควรของคำนับเป็นผู้ควรของต้อนรับ
S4- 44

อาหุเนยยสูตร บุคคล ๙ จำพวกนี้ เป็นผู้ควรของคำนับเป็นผู้ควรของต้อนรับ


13 อาฬ อิจ อิฏ อิณ อิทธิ อิทัป
546 อาฬวกสูตรที่ ๑๐ ตรัสสอน อาฬวกยักษ์ หากไม่ตอบจะควักดวงจิต(ตถาคต)โยนทิ้ง จักฉีกหัวใจจะจับขว้างไปที่ฝั่งแม่น้ำคงคา
633 อาฬารดาบส -มหาปรินิพพานสูตร #๑๐ อาฬารดาบส ทำสมาธิแล้วไม่ได้ยินเกวียน 500 เล่มผ่าน..แต่ตถาคตไม่ได้ยินแม้ฟ้าผ่า
498 อาฬารดาบส- การเข้าไปหาอาฬารดาบส การเข้าไปหาอุทกดาบส
446 อาฬารดาบส-บำเพ็ญสมาบัติในสำนักอาฬารดาบส ข้าพเจ้าทราบธรรมใด ท่านก็ทราบธรรมนั้น แต่‘ธรรมนี้ไม่เป็นไปเพื่อความ
801 อิจฉา ตระหนี่- เหตุแห่งการเบียดเบียน . เหตุตระหนี่คือมีสิ่งอันเป็นที่รัก.. สิ่งอันเป็นที่รักมีฉันทะ พอใจเป็นเหตุ
378 อิฎฐสูตร อายุ วรรณะ สุขะ ยศ สวรรค์ ไม่ได้มาจากการอ้อนวอน... ปราถนาสิ่งใด ก็ต้องปฏิบัติปฏิปทาอันเป็นไปเพื่อให้ได้สิ่งนั้นๆ
440 อิณสูตร.. ความเป็นคนจนก็เป็นทุกข์ ของผู้บริโภคกาม การกู้ยืม การใช้ดอกเบี้ย การทวงการติดตาม การจองจำ ก็เป็นทุกข์
1591 รวมเรื่องอิทธิบาท ๔ ประกอบด้วย ฉันทะสมาธิ วิริยะสมาธิ จิตตสมาธิ วิมังสาสมาธิ และปธานสังขาร จักไม่ย่อหย่อน
982 อิทธิบาท ๔ เจริญอิทธิบาท๔ ฉันทสมาธิ วิริยสมาธิ จิตตสมาธิ วิมังสาสมาธิ ผล...ย่อมแสดงฤทธิ์ ได้หลายอย่าง
661 อิทธิบาท ๔ จักกวัตติสูตร อายุ วรรณะ สุข โภคะ พละ อายุ อิทธิบาท วรรณะมีศีล สุขฌาน 1-4 โภคะ เมตตา กรุณา มุทิตา 
981 อิทธิบาท ๔ ฉันท วิริยะ จิตติ วิมังสา..ผล.. อรหัตผล หรือ อนาคามี อันตราปรินิพพายี อุปหัจจ อสังขาร สสังขาร อุทธังโสโต
293 อิทธิปาฏิหาริย์ - เกวัฏฏสูตร เรื่องนายเกวัฏฏ (ชาวประมง) สอบถามพระพุทธองค์เรื่องอิทธิปาฏิหาริย? อันเป็นธรรมยิ่งยวด
S5- 127 อิทธิปาฏิหาริย์ - ทรงแสดงปาฏิหาริย์ให้เหล่าชฏิล ถึง 12 ครั้ง เมื่อพระองค์เสด็จมาประทับ ณ โรงบูชาเพลิง ของเหล่าชฏิล
292 อิทธิปาฏิหาริย์ - อนุสาสนีปาฏิหาริย์ (ตรัสกับเกวัฏฏะ เรื่อง อนุศาสนีปาฏิหาริย์)
292 อิทธิปาฏิหาริย์ (ตรัสกับเกวัฏฏะ เรื่อง อนุศาสนีปาฏิหาริย์)
293 อิทธิปาฏิหาริย์-ธรรมอันยิ่งยวดของมนุษย์ เกวัฏฏสูตร เกวัฏฏ (ชาวประมง) ถามพระพุทธองค์เรื่องอิทธิปาฏิหาริย์? 
476 อิทัปปัจจยตา- อาการ ปฏิจจ- แม่เพียงอาการเดียว ก็ยังเรียกว่า ปฏิจจสมุปบาท (อิทิป) คือความตั้งอยู่แห่งธรรมดา 
1526 อิสิคิลิ ภูเขาที่พระปัจเจก ๕๐๐ องค์ อาศัย ชาวบ้านเชื่อว่าเป็นภูเขาที่กลืนกินฤาษี มีคนเห็นฤาษีเดินเข้าไป แต่เข้าไปแล้วคนไม่เห็น

14 อินทรีย์ อีศวร
789 อินทริยภาวนาสูตร อินทรีย์ภาวนาชั้นเลิศ ของผู้เจริญอินทรีย์ (ไวดุจกระพริบตา ของเสขะ(เบื่อหน่าย)..ของอริยะ(เห็นเป็นของปฏิกูล)
1563 ว่าด้วยอินทรีย์ ๓ อินทรีย์ ๔ อินทรีย์ ๕ อินทรีย์ ๖ .. อินทรีย์หมายถึง ความเป็นใหญ่/ร่างกายและจิตใจ/สติปัญญา/สิ่งมีชีวิต
(พระสูตรนี้มีคำแต่งใหม่ หรืออรรถกถาด้วย และมีคำของพระศาสดาด้วย)
307 อินทรีย์ ๕ (ความหมาย) สัทธินทรีย์(ศรัทธา) วิริยินทรีย์(วิริยะ) สตินทรีย์(สติ) สมาธินทรีย์(สมาธิ) ปัญญินทรีย์(ปัญญา)
319 อินทรีย์ ๕ (วิภังคสูตรที่ ๑) ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา
319 อินทรีย์ ๕ (วิภังคสูตรที่ ๑) ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา
307 อินทรีย์ ๕ ความหมายของ สัทธินทรีย์(ศรัทธา) วิริยินทรีย์(วิริยะ) สตินทรีย์(สติ) สมาธินทรีย์(สมาธิ) ปัญญินทรีย์(ปัญญา)
S2- 59 อินทรีย์ ๕ เครื่องวัดการบรรลุธรรมศรัทธาวิริยะสติสมาธิปัญ-
320 อินทรีย์ ๕ พละ ๕(สาเกตสูตร) (สิ่งใดเป็นวิริยินทรีย์ สิ่งนั้นเป็นวิริยพละ...)
306 อินทรีย์ ๕ พละ ๕ สาเกตสูตร (สิ่งใดเป็นสัทธินทรีย์ สิ่งนั้นเป็นสัทธาพละ สิ่งใดเป็นสัทธาพละ สิ่งนั้นเป็นสัทธินทรีย์...)
320 อินทรีย์ ๕ พละ ๕  วิริยินทรีย์ ว่าด้วยอินทรีย์ ๕ พละ ๕ (สิ่งใดเป็นวิริยินทรีย์ สิ่งนั้นเป็นวิริยพละ...)
306 อินทรีย์ ๕ พละ ๕ สาเกตสูตร (สิ่งใดเป็นสัทธินทรีย์ สิ่งนั้นเป็นสัทธาพละ สิ่งใดเป็นสัทธาพละ สิ่งนั้นเป็นสัทธินทรีย์...)
217 อินทรีย์ ๕ อาศัยผัสสะ -อรหันตสูตร (อินทรีย์ ๕ อาศัยผัสสะ เกิดเวทนา)
S6- 138 อินทรีย์ ๕ พระมหาโกฏฐิกะ ถามพระสารีบุตร
S6-138 อินทรีย์ พระมหาโกฏฐิกะ ถามพระสารีบุตร
1630 อินทรีย์ ๖ การรู้อินทรีย์ ๖ ของพระโสดาบัน/ การรู้อินทรีย์ ๖ ของพระอรหันต์/ การรู้อินทรีย์ ๖ ของพระพุทธเจ้า
525 อินทรีย์ของบุคคล ๑๐ จำพวก - มิคสาลาสูตร - บุคคล ๑๐ จำพวกนี้มีอยู่ในโลก (แสดงตารางเปรียบเทียบ)
524 อินทรีย์ของบุคคล ๑๐ จำพวก มิคสาลาสูตร คนหนึ่งประพฤติพรหมจรรย์ อีกคนหนึ่งไม่ แต่ไปเกิดในชั้นดุสิตเหมือนกัน...
439 อินทรีย์-ผู้คุ้มครองทวารในอินทรีย์ ผู้อยู่ใกล้นิพพาน สมบูรณ์ด้วยศีล คุ้มครองทวารอินทรีย์ ประมาณในโภชนะ 
432 อินทรีย์สังวร หรือกายคตสติ ผู้มีหลักเสาเขื่อน
886 อีศวร พระอีศวรเป็นผู้สร้างโลก เป็นผู้ยั่งยืน (ปาฏิกสูตร) ตรัสกับภวคะ ถึงทิฐิของสมณะพราหมณ์บางพวก

15 อุตร อุทก อุท อุทาน อุทายี อุบาสก อุบาลี อุเบก
127 อุตรกุรุ-ชาวอุตรกุรุ - เทวดาชั้นดาวดึงส์ -มนุษย์ชาวชมพูทวีป (แตกต่างกันอย่างไร)
273 อุตรกุรุ-ชาวอุตรกุรุ - ฐานสูตร (มนุษย์ 3 ทวีป มนุษย์ชาวชมภูทวีป ชาวอุตรกุรุ และเทวดามีความประเสริฐต่างกัน)
447 อุทกดาบส บำเพ็ญสมาบัติ ในสำนักอุทกดาบส ข้าพเจ้าทราบธรรมใดท่านก็ทราบธรรมนั้น แต่ธรรมนี้ไม่เป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย
1547 อทกดาบส คำกล่าวของอุทก-เป็นคำเลว ผู้เห็นอยู่ย่อมไม่เห็น คือเห็นมีดโกนแต่ไม่เห็นคม แต่ของ พ.คือผู้หลุดไปจากธรรมวินันี้ย
664 อุทกสูตร บุคคล ๖ จำพวก เราย่อมกำหนดรู้ใจบุคคลบางคนในโลกนี้ด้วยใจอย่างนี้ว่า กุศลธรรมก็ดีอกุศลธรรมก็ดี ของบุคคลนี้มีอยู่
655 อุทยานเจ้าเชต  อนาถบิณฑิกคหบดี สร้างพระเชตวัน ณ เมืองราชคฤห์ ที่แลกมาได้โดยใช้เงินจำนวนมากปูทั้งผืน
902 อุทยาน พระวิปัสสี ราชกุมาร เสด็จอุทยาน ทรงเห็นคนชรา คนเจ็บ ตนตาย และบรรพชิต จากนั้นทรงตัดสินใจปลงผมและหนวด
973 อุทานคาถา ความสงัดเป็นสุขของผู้สันโดษ.. ความไม่พยาบาทเป็นสุขในโลก.. การกำจัดอัสมิมานะเสียได้ เป็นสุขอย่างยิ่ง
473 อุทานคาถา ปฐมปาราชิกกัณฑ์- พระวินัยปิฎก เรื่องลิงตัวเมีย เรื่องเปลือยกาย เรื่องเสพเมถุนกับสัตว์ กับมารดา
973 อุทานคาถา พราหมณ์ใดมีบาปอันลอยเสียแล้ว ไม่มีกิเลสในอารมณ์ มีพรหมจรรย์อยู่จบแล้วควรกล่าวว่า ตนเป็นพราหมณ์
973 อุทานคาถาที่ ๑ ทรงพิจารณาปฏิจจ (สายเกิด-ดับ) ตลอด ๗ วัน เป็นอนุโลมและปฏิโลม(ทบทวน)ตลอดมัชฌิมยาม
973 อุทานคาถาที่ ๒ (ทบทวนปฏิจ)เมื่อธรรมทั้งหลายปรากฎ ความสงสัยย่อมสิ้นไป เพราะได้รู้ความสิ้นแห่งปัจจัย ทั้งหลาย
973 อุทานคาถาที่ ๓ (ทบทวน)เมื่อธรรมทั้งหลายปรากฏ เมื่อนั้นย่อมกำจัดมาร เสียได้ ดุจพระอาทิตย์อุทัย ทำอากาศให้สว่าง
463 อุทายี ขอเสพเมถุนกับหญิงหม้าย เป็นที่มาของบทบัญญัติสิกขาบทแก่ภิกษุ ว่าเป็นอาบัติสังฆาทิเสส (ถูกลงโทษ)
1168 อุทายี นั่งในที่ลับกับมาตุคาม พระผู้มีพระภาคเรียกประชุมสงฆ์ และทรงทีพระบัญญัติ ห้ามภิกษุนั่งในที่ลับกับมาตุคาม ตัวต่อตัว

650

อุทายีสูตร กายนี้เป็นอนัตตาฉันใด แม้วิญญาณ ก็เป็นอนัตตา ฉันนั้น.อุปมาเหมือนลอกลอกกาบต้นกล้วย แม้กระพี้ แม้แก่นก็หาไม่พบ
665 อุบาสกแก้ว และอุบาสกผู้เลวทราม จัณฑาลสูตร ธรรม 5 ประการ
S7-192 อุบาสกจัณฑาล เป็นผู้ไม่มีศรัทธา ทุศีล นับถือโกตุหลมงคล1 เชื่อมงคลไม่เชื่อกรรม  แสวงหาผู้ควรรับทักษิณาภายนอกศาสนานี้ 
S7-193 อุบาสกรัตนะ เป็นผู้มีศรัทธา มีศีล ไม่นับถือโกตุหลมงคล1 เชื่อกรรมไม่เชื่อมงคล ไม่แสวงหาผู้ควรรับทักษิณาภายนอกศาสนานี้ 
1505-09 อุบาลี รวมเรื่องราวของอุบาลีเถระ 46 เรื่อง (เอตทัคคะ ด้านผู้ทรงวินัย) พระอุบาลีวิสัชนาพระวินัย ในการสังคายนาครั้งที่ 1
1251 อุบายเครื่องออก อะไรหนอเป็นคุณ เป็นโทษ อุบายเครื่องออก..เมื่อใดเรารู้คุณของโลกโดยความเป็นคุณ ซึ่งโทษโดยความเป็นโทษ
S7- 186 อุเบกขา ที่ควรเสพก็มี ที่ไม่ควรเสพก็มี ตรัสกับจอมเทพ .. พิจารณาจาก อกุศลธรรม-กุศลธรรม เจริญขึ้นหรือเสื่อมลง

16 อุป อุปา อุโป อุมิค อัปป
1431 อุปกิเลส 5 ประการ (อุปกิเลสสูตร) กามฉันทะ พยาบาท ถิ่นมิทธะ อุทธัจจ วิจิกิจฉา (นิวรณ์๕)
883 อุปกิเลส ๑๖ : ธรรม อันเป็นเครื่องเศร้าหมองของจิต
S6- 154 อุปธิ- ความเพียร เพื่อละอุปธิเสียทั้งหมด เป็นยอดแห่งความเพียร ที่เหนือกว่าความเพียรเพื่อให้ได้ทรัพย์สินเงินทอง
701 อุปธิ- ปฏิบัติเพื่อความสิ้นทุกข์ เพื่อความดับไปแห่งชรา มรณะ สัมมสสูตรที่ ๑ เมื่ออุปธิมี ชราและมรณะจึงมี  ตัณหามี อุปธิจึงมี 
749 อุปนิสาสูตร : วิปฏิสาร- อวิปฏิสาร (ความไม่ร้อนใจ) ชื่อว่าบุคคลผู้ทุศีล มีศีลวิบัติขจัดเสียแล้ว เหมือนต้นไม้มีกิ่ง และใบวิบัติแล้ว
1510 อุปนิสสูตร การสิ้นไปแห่งอาสวะ ด้วยญานในธรรม วิมุตติเป็นเหตุที่อิงอาศัยแห่งญาณในธรรม วิราคะเป็นเหตุที่อิงอาศัยแห่งวิมุตติ 
746 อุปบัติ- ธรรมปริยายสูตร อุปบัติคด - ตรง อุปบัติคดคือกายกรรม-วจี-มโนคด คติและอุบัติย่อมคด.. อุปบัติตรงสุขส่วนเดียว
643 อุปมา ๓ ข้อ ตรัสกับภาระทวาชะ เรื่องการหลีกออกจากกาม เหมือนไม้สดแช่อยู่ในน้ำ- ไม้สดตั้งบนบก-ไม้แห้งเกรอะตั้งบนบก
235 อุปมานิวรณ์- เปรียบเหมือนบุรุษจะพึงกู้หนี้ไปประกอบการงาน
641 อุปมาเรื่องทุกข์ของพระอริยะ.. ทุกข์ที่เหลือ กับ ทุกข์ที่หมดไป ทุกข์ที่เหลือเท่าฝุ่นปลายเล็บ ทุกข์ที่หมดไปเท่าดินในปฐพี
1332 อัปปิยสูตร ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๘ ประการ ย่อมเป็นที่รัก/ไม่เป็นที่รัก..เป็นที่พอใจ/ไม่พอใจ เป็นที่เคารพ/ไม่เป็นที่เคารพ.
  (อุปาทาน อุปาลี อุโป อุมิค)
254 อุปาทาน ๔ อย่าง กามุปาทาน/ทิฏฐุปาทาน ยึดถือในความเห็นของตน/สีลัพพัตตุปาทาน /อัตตวาทุปาทาน
492 อุปาทาน ๔ ...กามุปาทาน ทิฏฐุปาทาน สีลัพพัตตุปาทาน อัตตวาทุปาทาน อุปาทาน ๔ เหล่านี้ มีอะไรเป็นต้นเหต... มีตัณหาเป็นต้นเหตุ
687 อุปาทาน ตัณหาคือเชื้ออุปทาน เหมือนน้ำมันที่กำลังลุก... ดับน้ำมัน เท่ากับเชื้อไฟเท่ากับดับอุปทาน ทุกข์จึงดับลง
689 อุปาทาน ปฐมมหารุกขสูตร ความพอใจปัจจัยแห่งอุปาทาน ตัณหาเจริญ เหมือนต้นไม้ใหญ่ ย่อมดูดโอชารสขึ้นไปเบื้องบน
384 อุปาทานขันธ์ ๕ ธรรมที่ควรใส่ใจ สีลสูตร และ สุตวาสูตร ว่าด้วยห็นความไม่เที่ยงไม่มีตัวตน ในอุปาทานขันธ์5
443 อุปาทานขันธ์ ๕ รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง ทั้งที่เป็นอดีต อนาคต หรือปัจจุบันก็ตามเป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม...
S2- 47 อุปาทานขันธ์ ๕ (ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งรูป..)
175 อุปาทานขันธ์ อุปาทานขันธ์๕ ต่างกันหรือไม่ (ขันธ์5 คือ รูปเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ,)
S1- 14 อุปาทานในขันธ์๕ (สังโยชน์ ฉันทราคะ)
1516-18 อุปาทานขันธ์ รู้ชัดอุปาทานขันธ์โดยปริวัฏฏ์ ๔ (หนังสือ จิต มโน วิญญาณ) .... สำนวนแปลจาก 3 แหล่งที่ต่างกัน
1513 อุปาทานขันธ์ ๕ มีฉันทะเป็นมูล ความกำหนัดพอใจ คือ ตัวอุปาทาน.. ภิกษุประมาณ ๖๐ รูป ฟังธรรมนี้แล้ว จิตหลุดพ้นจากอาสวะ
686 อุปาทานสูตร ความพอใจคือเชื้อแห่งอุปทาน เหมือนเชื้อไฟกองใหญ่ที่กำลังลุก.. ดับเชื้อไฟเท่ากับดับความพอใจ คือดับอุปาทาน
822 อุปาลีสูตร ฆราวาสคับแคบ เธอจงมาประพฤติพรหมจรรย์เถิด ..ข้อปฏิบัติ คือ กุศลกรรมบถ10-จุลศีล- มัชฉิมศีล-ฌาน1-4-อรูปสัญญา
984 อุโปสถสูตร อุโบสถมี ๓ อย่าง ๑.โคปาลกอุโบสถ-แบบคนเลี้ยงโค ๒.นิคัณฐอุโบสถ-แบบลัทธิอื่น ๓.อริยอุโบสถ-แบบของตถาคต
1352 อุโปสถสูตร อุโบสถ มี 3 แบบ โคปาลกอุโบสถ นิคัณฐอุโบสถ อริยอุโบสถ
1388 อุปสมบทภิกษุณี ทรงให้พระอานนท์ บวชนางปชาบดีโคตมี หลังรับครุธรรม ๘ ประการ แล้ว
523 อุมิคสาลาสูตรปาทาน-สะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน ไม่สะดุ้งเสียวเพราะไม่มีอุปาทานในความแปรปรวนของ รูป เวทนา
   

17 เอก เอต เอตัง โอรัม โอวาท
505 เอกกนิทเทส บุคคลผู้พ้นแล้วเป็นไฉน... ผู้มีธรรมอันไม่เสื่อมเป็นไฉน... บุคคลชื่อว่าโสดาบัน ชื่อว่าปฏิบัติแล้วเพื่อทำให้แจ้ง...
308 เอกบุคคลบาลี บุคคลเอกของโลก (บุคคลหาได้ยากในโลกฯ เป็นผู้ไม่มีสอง ไม่มีใครเสมอ เป็นแสงสว่างใหญ่ แทงตลอดธาต)
1383 เอกภาวะ นานาภาวะ สรรพภาวะ ไม่สำคัญมั่นหมาย ซึ่งนิพพาน ในนิพพาน โดยความ.. นิพพานเป็นของเรา จึงไม่เพลิดเพลิน
864 เอตทัคคบาลี เอตทัคคะ ผู้ยอดเยี่ยมทางใดทางหนึ่งเป็นพิเศษ 74 ท่าน ที่ประทานแต่งตั้งให้คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
309 เอตทัคคะ ๗๔ ท่าน (ผู้ยอดเยี่ยมเป็นพิเศษในด้านต่างๆ ที่พระพุทธเจ้าได้ประทานแต่งตั้งให้กับพระสาวกจำนวน 74 ท่าน)
1314

เอสสูตรที่๑ ไม่พึงสำคัญแต่สิ่งทั้งปวง ไม่พึงสำคัญว่าสิ่งทั้งปวงของเรา เมื่อไม่สำคัญก็ไม่ถือมั่นอะไรๆในโลก ไม่พึงสำคัญซึ่งจักษุ รูป

1315 เอสสูตรที่๒ ไม่พึงสำคัญ ซึ่งขันธ์ธาตุและอายตนะ ไม่พึงสำคัญในขันธ์ธาตและอายตนะ...เมื่อไม่สำคัญย่อมไม่ถือมั่นสิ่งอะไรๆ
380 เอตังมมสูตร เหตุแห่งการถือมั่นว่าเป็นของเรา เมื่ออะไรมีอยู่ เพราะถือมั่นอะไร ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นอย่างนี้ว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา
326 โอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ มาลุงโกฺยวาทสูตร (โอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕)
318 โอรัมภาคิยสังโยชน์-สังโยชน์ ๑๐ (โอรัมภาคิยสังโยชน์ อุทธัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องต่ำ5 เบื้องสูง5 )
172 โอรัมภาคิยสังโยชน์-สังโยชน์ ๑๐ อรัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องต่ำ 5 และ อุทธัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องสูง 5
S11-29 โอวาทปาติโมกข์
340 โอวาทปาติโมกข์ (การแสดงธรรมที่เป็นหัวใจสำคัญให้กับภิกษุอรหันต์ 1250 รูป ที่มาประชุมโดยมิได้นัดหมายในวันมาฆะ)
 
   
หนังสือพุทธวจน ออนไลน์
90 90 90 90  
 
พุทธประวัติ ขุทรัพย์
อริยสัจ
ภาคต้น
อริยสัจ
ภาคปลาย
ปฏิจ ปฐมธรรม ตถาคต อนาคามี อินทรีย์
สังวร
สัตว์
สัตตานัง
ทาน
สกทาคามี
ฆราวาส
ชั้นเลิศ
มรรควิธี
ที่ง่าย
 
   
อริยวินัย เดรัจฉานวิชา กรรม สมถะ
วิปัสสนา
โสดาบัน อานา
ปานสติ
จิต มโน
วิญญาณ
ก้าวย่าง
อย่างพุทธะ
ตามรอย
ธรรม
ภพ ภูมิ
พุทธวจน
สาธยาย
ธรรม
สังโยชน์