สัตว์ 15 ชนิด ที่พระศาสดาทรงอุปมา
เต่า งู จระเข้ นก สุนัข แมลงป่อง ตะขาบ พังพอน แมว โค ม้า ไก่ ราชสีห์ หนู ลิง |
สัตว์ |
ฉบับหลวง / จากพระโอษฐ์ |
พระสูตร |
|
|
|
|
สุนัขจิ้งจอก |
ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๖ หน้าที่ ๒๒๓ |
สิคาลสูตร
ภิกษุติดลาภสักการะ
เหมือนสุนัขจิ้งจอกติดโรคเรื้อน |
|
|
|
นก |
ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๖ หน้าที่ ๒๒๔ |
เวรัมภสูตร
ภิกษุติดลาภสักการะ
เหมือนนกถูกลมบ้าหมูซัด |
เหยี่ยว , นกมูลไถ |
ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๙ หน้าที่ ๑๖๗-๑๖๘ |
สกุณัคฆีสูตร
การหากินที่ไม่ใช่ถิ่นตน
เหยี่ยวหากินนอกถิ่น โฉบลงจับนกมูลไถ แต่กระแทกดินตาย |
|
|
|
แมว |
ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๖ หน้าที่ ๓๐๕-๓๐๖ |
วิฬารสูตร
มารยาทและโคจร ไม่เที่ยวเกินเวลา
เหมือนแมวกินลูกหนูแต่ถูกลูกหนูกัดกินใส้ |
|
|
|
ช้าง |
ขุมทรัพย์จากพระโอษฐ์ หน้าที่ ๒๔๐ |
ช้างนาบุญ |
ช้าง |
ฉบับหลวง เล่มที่ ๒๒ หน้าที่ ๑๔๖ |
โสตวสูตร (ช้างที่คู่ควรของพระราชา) |
ช้างศึก |
ฉบับหลวงเล่มที่ ๒๓ หน้าที่ ๓๕๑ |
นาคสูตร
ภิกษุที่หลีกเร้น เช่นเดียวกับช้างป่าที่ออกจากโขลง |
|
|
|
เต่า |
ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๘ หน้าที่ ๑๙๗ |
สุขุมสูตร (สุนัขจิ้งจอกกับเต่า) |
เต่า |
ชุด 5 เล่มจากพระโอษฐ์
|
กระดองของบรรพชิต (เต่าหดหัวในกระดอง) |
เต่าตาบอด |
ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๙ หน้าที่ ๔๔๗ |
ฉิคคฬสูตรที่ ๑
ว่าด้วยความเป็นมนุษย์ยาก |
|
|
|
งู จระเข้ นก สุนัขบ้าน
สุนัขจิ้งจอก ลิง |
สฬา.สํ.๑๘/๒๔๖,๒๔๘/๓๔๘,๓๕๐ |
โทษของการไม่มี กายคตาสติ /
คุณของกายคตาสติ |
งู แมลงป่อง ตะขาบ
พังพอน
แมว หนู นกเค้าแมว |
ฉบับหลวง เล่มที่ ๒๔ หน้าที่ ๒๙๙-๓๐๓ |
ธรรมปริยายสูตร
อุปบัติคดของสัตว์ที่กระเสือกกระสน |
งูพิษ |
ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๒ หน้าที่ ๑๘๕-๑๘๖ |
บุรุษเปล่าเรียนธรรม
ปริยัติที่เป็นงูพิษ |
|
|
|
โค |
ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๒ หน้าที่ ๒๙๖ |
จูฬโคปาลสูตร
อุปมาด้วยนายโคบาล ต้อนฝูงวัวข้ามแม่น้ำคงคา |
โคดำ-โคขาว |
ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๘ หน้าที่ ๓๑๒-๓๑๔ |
สังโยชนสูตร
เรื่อง โคดำ-โคขาว ผูกเชือกด้วยเส้นเดียวกัน |
โค |
ขุมทรัพย์จากพระโอษฐ์ หน้า ๑๒๕ |
กูเป็นโค (คัทรภสูตร) |
|
|
|
ม้ากระจอก ๓ จำพวก |
ฉบับหลวง เล่มที่ ๒๐ หน้าที่ ๒๗๕ |
อัสสสูตรที่ ๑
ม้ากระจอก ๓ จำพวก กับ บุรุษกระจอก ๓ จำพวก |
ม้าดี ๓ จำพวก |
ฉบับหลวง เล่มที่ ๒๐ หน้าที่ ๒๗๗ |
อัสสสูตรที่ ๒
ม้าดี ๓ จำพวก กับ บุรุษดี ๓ จำพวก |
ม้าอาชาไนย ๓ จำพวก |
ฉบับหลวง เล่มที่ ๒๐ หน้าที่ ๒๗๘ |
อัสสสูตรที่ ๓
ม้าอาชาไนย ๓ จำพวก กับ บุรุษอาชาไนย ๓ จำพวก |
ม้าอาชาไนย 4 ประเภท |
ฉบับหลวง เล่มที่ ๒๑ หน้าที่ ๑๗๒-๑๗๕ |
ปโตทสูตร
ว่าด้วยปฏักของสารถี |
|
|
|
ไก่ |
ฉบับหลวง เล่มที่ ๒๓ หน้าที่ หน้าที่ ๙๘ |
ภาวนาสูตร (พระสูตรเดียวกับนาวาสูตร) / P1368
การภาวนาที่สำเร็จจนสิ้นอาสวะ (อุปมาเหมือนแม่ไก่ฟักไข่) |
ไก่ |
ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๗ หน้าที่ ๑๔๓-๑๔๕ |
นาวาสูตร (พระสูตรเดียวกับภาวนาสูตร) / P1598
การสิ้นและไม่สิ้นไปแห่งอาสวะ(อุปมาเหมือนแม่ไก่ฟักไข่) |
|
|
|
ราชสีห์ |
ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๗ หน้าที่ ๘๕ |
สีหสูตร
อุปมาพระพุทธเจ้ากับพญาราชสีห์ |
ราชสีห์ |
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์ |
ทรงแสดงธรรมด้วยความระมัดระวังอย่างยิ่ง
(อุปมาเหมือน พญาสัตว์ชื่อ สีหะ) |
ราชสีห์ |
ฉบับหลวง เล่มที่ ๒๑ หน้าที่ ๒๓๐ |
ตถาคตไสยา
การนอนของตถาคต |
ราชสีห์ |
ฉบับหลวง เล่มที่ ๒๔ หน้าที่ ๓๒ |
สีหสูตร
สีหะ คือชื่อของตถาคต |
|
|
|
หนู (ขุดรู) |
ฉบับหลวง เล่มที่ ๒๑ หน้าที่ ๑๐๗
อริยสัจจากพระโอษฐ์ (ตอน1) หน้า 47 |
มูสิกาสูตร (หนูขุดรู)
เปรียบนักเรียนอริยสัจ ด้วยหนูต่างจำพวกกัน |
|
|
|
ลิง |
ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๙ หน้าที่ ๒๑๘-๒๒๐ |
มักกฏสูตร
ว่าด้วยลิงติดตัง |
|
|
|