จักรพรรดิ์ มี ๓ พระสูตร 1.พระจักรพรรดิ์ ทัลหเนมิ 2.มหาสุทัสสนะ เมืองกุสาวดี (พระพุทธเจ้า) 3.พระเจ้ามฆเทวะ เมืองมิถิลา
1010
การตั้งอยู่ในอรหัตตผล มีได้ด้วยการศึกษาโดยลำดับ กุลบุตรในธรรมวินัยนี้ เกิดศรัทธาแล้ว เข้าไปใกล้ นั่งใกล้ เงี่ยโสต ลงสดับ
ความเพียรซึ่งเกิดได้ยาก ๒ อย่าง คือ 1.ความเพียรเพื่อทำให้เกิดจีวรบิณฑบาต(เข้ามาบวช) 2.ความเพียรเพื่อสละคืนอุปธิ
คุณธรรม ๗ ประการ เพื่อความเป็นท้าวสักกะ(พระอินทร์-ดาวดึงส์) เลี้ยงมารดาบิดา อ่อนน้อม พูดอ่อนหวาน ละความตระหนี่
หน้าที่ ๒๓๓ เบญจขันธ์ไม่เที่ยง หน้าที่ ๒๓๔ สมุทยธรรม วยธรรม นิโรธธรรม หน้าที่ ๒๓๖ เบญจขันธ์เป็นทุกข์ หน้าที่ ๒๓๗ นั่นไม่ใช่ของเรา นั่น ไม่ใช่เรา นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา หน้าที่ ๒๓๘ เหตุปัจจัยของเบญจขันธ์ก็เป็นทุกข์ หน้าที่ ๒๓๙ เบญจขันธ์เป็นอนัตตา หน้าที่ ๒๔๐ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เป็นอนัตตา หน้าที่ ๒๔๓ สิ่งใดมิใช่ของเรา หน้าที่ ๒๔๕ เหตุปัจจัยของเบญจขันธ์ก็เป็นอนัตตา หน้าที่ ๒๔๖-๑ เบญจขันธ์เป็นภาระที่หนัก หน้าที่ ๒๔๖ เบญจขันธ์เป็นทั้ง ผู้ฆ่า และ ผู้ตาย หน้าที่ ๒๔๗ เบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง หน้าที่ ๒๔๘ เบญจขันธ์เป็นเครื่องผูกพันสัตว์ หน้าที่ ๒๔๙ เรียกกันว่า “สัตว์” เพราะติดเบญจขันธ์ หน้าที่ ๒๕๑ ไม่รู้จักเบญจขันธ์ชื่อว่ามีอวิชชา หน้าที่ ๒๕๑-๑ เพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์ หน้าที่ ๒๕๒ ต้องละฉันทราคะ ในเบญจขันธ์ หน้าที่ ๒๕๖ ทรงแสดงลักษณะความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) หน้าที่ ๒๘๒ เครื่องจูงใจสู่ภพ หน้าที่ ๒๘๓ พืชของภพ (ตรัสกับอานนท์) หน้าที่ ๔๑๙ ละกิเลสตัณหาได้ คือละเบญจขันธ์ได้ หน้าที่ ๔๒๐ ละฉันทราคะแห่งสิ่งใด ก็คือการละซึ่งสิ่งนั้น หน้าที่ ๔๒๑ ความสิ้นตัณหา คือ นิพพาน หน้าที่ ๔๒๒ ที่สุดของพรหมจรรย์ คือนิพพาน
คุณธรรมของราชา… กษัตริย์แม้มีทรัพย์มากก็ไม่พ้นชรามรณะ.. ต้องมีธรรมราชา...โสดาบันประเสริฐกว่าจักรพรรดิ
กรรมเก่า – กรรมใหม่ 1.กรรมเก่า(ปุราณกัมม) 2.กรรมใหม่(นวกัมม) 3.ความดับแห่งกรรม (กัมมนิโรธ) 4.ข้อปฏิบัติ (มรรคแปด)
กาลิก .. ของฉัน ๔ อย่าง ๑.ยามกาลิก-น้ำปานะ ๒.ยาวกาลิก-อาหาร ๓. สัตตาหกาลิก-น้ำผึ้ง น้ำอ้อย ๔. ยาวชีวิก-ยารักษาโรค
ธรรมสมาทาน ๔ อย่าง สุข-ทุกข์ปัจจุบัน สุข-ทุกข์เป็นวิบาก เหตุเพราะไม่รู้ธรรม-รู้ธรรมที่ควรเสพ และเห็นอย่างถูกต้อง
อุปมา ๕ ข้อ (ธรรมสมาทาน ๔) เหมือนน้ำเต้าขมปนด้วยยา.. น้ำหวานปนยาพิษ.. ของมูตรเน่า..น้ำผึ้งเนยใส ..อากาศอันโปร่ง