|
|
|
พระสูตรชุดเต็ม ชุด 7 |
|
|
|
|
701 |
สัมมสสูตรที่ ๑ เมื่ออุปธิมี ชราและมรณะจึงมี
เมื่ออุปธิไม่มี ชราและมรณะก็ไม่มี เมื่อตัณหามี อุปธิจึงมี เมื่อตัณหาไม่มี อุปธิก็ไม่มี |
702 |
สัมมสสูตรที่ ๒ พระสารีบุตร สนทนากับพระโกฏฐิตะ อุปมา ไม้อ้อ ๒ กำ ,ภิกษุธรรมกถึก ภิกษุผู้ประพฤติธรรมสมควรแก่ธรรม |
703 |
สุสิมสูตร สุสิมปริพาชกเข้ามาบวชเพื่อหวังได้ลาภและมีฤทธิ์ ครั้นได้ฟังคำสอนฯ แล้วเปลี่ยนใจ กราบขออภัยพระพุทธเจ้าที่หลงผิด |
704 |
อภิสมยวรรคที่ ๑๐ (รวม 11 พระสูตร) ทุกข์ที่เหลือของอริยะ และการตรัสรู้ธรรม พระองค์อุปมาไว้หลายนัยยะ |
705 |
ธาตุสังยุตต์ (รวม 10 พระสูตร) ความแตกต่างแห่งธาตุเป็นไฉน รูปธาตุ จักขุธาตุ วิญญาณธาตุ |
706 |
สัตติมสูตร ธาตุ ๗ ประการ อาภาธาตุ สุภาธาตุ อากาสานัญจา วิญญา อากิญ เนวสัญญา สัญญาเวทยิต อาศัยการเกิดตามปฏิจจ |
707 |
สนิทานสูตร กาม พยาบาท เบียดเบียน : เนกขัมมะ อัพพยาปาท อวิหิงสา ... เปรียบเหมือนคบไม้ติดไฟ ต้องรีบละ รีบบรรเทา |
708 |
คิญชกาวสถสูตรธาตุ .. อวิชชา นี้เป็นธาตุใหญ่.. สัญญาที่เลว ทิฐิเลว วิตกเลว เจตนาเลว เกิดขึ้นเพราะอาศัยธาตุที่แตกต่างกัน |
709 |
สัจจบรรพ ทุกขอริยสัจเป็นไฉน.. ทุกขสมุทัย...ทุกขนิโรธอริยสัจ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นไฉน |
710 |
จังกมสูตร สัตว์ย่อมคบค้าสมาคมกันโดยธาตุเทียว .. ภิกษุหลายรูปเดินจงกรมก็เช่นกัน ผู้มีปัญญาเดินจงกรมกับผู้มีปัญญา.. |
711 |
สัตว์ย่อมคบค้ากัน ย่อมสมาคมกันโดยธาตุเทียว (หลายพระสูตร) แม้ในอดีต ในอนาคต และปัจจุบัน |
712 |
วาจาของสัตตบุรุษ และ อสัตตบุรุษ สะใภ้ใหม่-สะใภ้เก่า .. วาจาของสัตบุรุษ -อสัตตบุรุษ ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ |
713 |
กำลังของตถาคต ๑๐ ประการ ย่อมรู้ฐานะและรู้เหตุมิใช่ฐานะในโลกนี้ .. รู้วิบากของกรรมที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน |
714 |
นิพเพธิกสูตร สังกัปปะราคะ คือกามของคนเรา |
715 |
อาเนญชสัปปายสูตร กาม ทั้งที่มีในภพนี้-ภพหน้า และ กามสัญญา ทั้งที่มีในภพนี้ -ภพหน้า ทั้ง ๒ อย่างนี้เป็นบ่วงแห่งมาร |
716 |
อาเนญช (อาเนญชสมาธิ อาเนญชสมาบัติ อาเนญชาภิสังขาร อาเนญชสัญญา) จากพระไตรปิฏก- คัดเฉพาะ พุทธวจน |
717 |
ติตถสูตร ทิฏฐิ 3 อย่างในเรื่องกรรมของเดียรถีย์ ...ธรรมที่เราแสดง ไม่ถูกติ คือผัสสายตนะ๖ มโนปวิจาร๑๘ อริยสัจ๔ ธาต ๖ |
718 |
สุตตนิบาต ปรายนวรรคที่ ๕ วัตถุกถา พราหมณ์พาวรี พาพราหมณ์ผู้เป็นศิษย์ ๑๖ คน เข้าเฝ้าฯ เพื่อถามปัญหา |
719 |
จูฬกัมมวิภังคสูตร สัตว์มีกรรมเป็นของตน มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย กรรมย่อมจำแนกสัตว์ |
720 |
โพชฌงคบรรพ โพชฌงค์ ๗ อย่างไรเล่า? เมื่อ สติสัมโพชฌงค์ มีอยู่ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่า สติสัมโพชฌงค์ มีอยู่ |
|
|
|
สติปัฏฐาน ๔ |
721 |
กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน พิจารณาเห็นกายในกาย 6 นัยยะ เดินก็รู้ว่าเดิน รู้ทุกอิริยาบถ พิจารณาเห็นความไม่งาม เห็นเป็นของเน่า |
722 |
เวทนานุปัสนาสติปัฏฐาน สุขเวทนาก็รู้ ทุกขเวทนา..อทุกขมสุข ก็รู้ นี้เรียกว่าเห็นเวทนาในเวทนา..อุเบกขาอิงอามิส และไม่อิงอามิส |
723 |
จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน พิจารณาเห็นจิตในจิต...จิตมีราคะก็รู้ชัดว่าจิตมีราคะ มีโทสะก็รู้ชัดว่าจิตมีโทสะ..มีสติสักแต่ว่ารู้ - ระลึก |
724 |
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน นีวรณบรรพ เมื่อกามฉันทะ..พยาบาท.. ถีนมิทธะ... อุทธัจจะ..วิจิกิจฉา.. มีอยู่ในจิต ย่อมรู้ชัดว่า มีอยู่ |
|
|
725 |
มหาทุกขักขันธสูตร : รู้จักคุณของกาม -โทษ-และการถ่ายถอน/ การกำหนดรู้รูป รู้จักคุณ-โทษ- การถ่ายถอนซึ่งรูป กำหนดรู้เวทนา |
726 |
กัปนานแค่ไหน สังสารวัฏหาเบื้องต้นไม่ได้ เบื้องปลายไม่ได้ รวม 10 พระสูตร รวมอุปมาเรื่องกัป ความนานของสังสารวัฏ |
727 |
ชนวสภสูตร พระอานนท์น้อยใจพระศาสดาที่ไม่ทรงพยากรณ์ชาวมคธ ที่ทำกาละไปแล้ว |
728 |
หมอชีวกโกมารภัจจ์ เรื่องราวและประวัติของหมอชีวก หมอรักษาพระพุทธเจ้า รวบรวมหลายๆพระสูตร จากพระไตรปิฎกฉบับหลวง
(พระสูตรนี้น่าจะเป็นอรรถกถา) |
729 |
ช่องว่างในที่คับแคบ สัมพาธสูตร (ฉบับมหาจุฬา) ... ปัญจาลสูตร(ฉบับหลวง) |
730 |
อมนุษย์ เรื่อง อมนุษย์ บางพระสูตรที่ปรากฎในพระไตรปิฎก ฉบับหลวง |
731 |
สังฆเภท (แสดงธรรม ไม่กับคำสอนฯ) สังฆสามัคคี (แสดงธรรมได้ถูกต้อง ตรงกับคำสอน)ผู้ทำสังฆเภท นรก1 กัป ช่วยเหลือไม่ได้ |
732 |
นันทสูตร พระศาสดาพาพระนันทะ ให้ไปเห็นนางอัปสรชั้นดาวดึงส์ บอกสาวที่คิดจะแต่งงานเหมือน นางลิง สวยไม่ถึงเสี้ยวนางอัปสร |
|
ทิฏฐิ ๖๒ |
733 |
ทิฏฐิ ๖๒ (กลุ่ม ๑) สัสสตทิฏฐิ : เห็นว่าตัวตน(อัตตา)และโลกเที่ยง เพราะระลึกชาติได้ เป็นแสนชาติ..รวมทั้งเป็นนักเดา(ตริตรึก) |
734 |
ทิฏฐิ ๖๒ (กลุ่ม ๑) เอกัจจสัสสติกทิฏฐิ เห็นว่าบางอย่างเที่ยง บางอย่างไม่เที่ยง รวมทั้งเป็นนักเดาว่ากายไม่เที่ยง จิตเที่ยง |
735 |
ทิฏฐิ ๖๒ (กลุ่ม ๑) อันตานันติกทิฏฐิ เห็นว่าโลกมีที่สุด และไม่มีที่สุด รวมทั้งเป็นนักเดา ว่าโลกมีที่สุดก็ไม่ใช่ ไม่มีที่สุดก็ไม่ใช่ |
736 |
ทิฏฐิ ๖๒ (กลุ่ม ๑) อมราวิกเขปิกทิฏฐิ ..เป็นลัทธิที่พูดไม่ตายตัวแบบปลาไหล ทั้งปฏิเสธ และไม่ปฏิเสธ เป็นวาทะที่ลื่นไหล |
737 |
ทิฏฐิ ๖๒ (กลุ่ม ๑) อธิจจสมุปปันนิกทิฏฐิ 1.เห็นว่าสิ่งต่างๆมีขึ้นเองเพราะเคยเป็นอสัญญีสัตว์(มีรูปไม่มีสัญญา) 2.เป็นทิฏฐิที่คิดเอง |
738 |
ทิฏฐิ ๖๒ (กลุ่ม ๒) สัญญีทิฏฐิ ๑๖ ลัทธิ เห็นว่าตนทั้ง ๑๖ ประเภทนี้ ตายไปแล้ว ก็มีสัญญาคือ ความจำได้หมายรู้ทั้งสิ้น |
739 |
ทิฏฐิ ๖๒ (กลุ่ม ๒) อสัญญีทิฏฐิ เห็นว่าไม่มีสัญญา ตายไปแล้วก็ไม่มี ไม่มีความจำได้หมายรู้ มีรูปจนที่สุดก็มิใช่ ไม่มีที่สุดก็มิใช่ |
740 |
ทิฏฐิ ๖๒ (กลุ่ม ๒) เนวสัญญีนาสัญญีทิฏฐิ เห็นว่ามีสัญญาก็มิใช่
ไม่มีสัญญาก็มิใช่ ตนมีที่สุดก็มิใช่ ไม่มีที่สุดก็มิใช่ |
741 |
ทิฏฐิ ๖๒ (กลุ่ม ๒) อุจเฉททิฏฐิ เห็นว่ามนุษย์-สัตว์ขาดสูญ(ไม่เกิดอีก) เทวดาที่เป็นทิพย์มีรูป-และไม่มีรูปเมื่อสิ้นชีพ ก็ขาดสูญด้วย |
742 |
ทิฏฐิ ๖๒ (กลุ่ม ๒) ทิฏฐธรรมนิพพานทิฏฐิ เห็นสภาพบางอย่างเป็นนิพพาน เช่นได้กามคุณ5 ได้ฌาน 1,2,3,4 ว่านั่นคือนิพพาน |
743 |
ทิฏฐิ ๖๒ ฐานะของผู้ถือทิฏฐิ ธรรมบรรยายนี้เรียก อรรถชาละ,ธรรมชาละ,พรหมชาละ,ทิฏฐิชาละ,พิชัยสงครามอันยอดเยี่ยม ก็ได้ |
|
|
744 |
พระพุทธเจ้า วิปัสสี ยุคมนุษย์อายุ 80,000 ปี (91กัปที่แล้ว) ประสูติ..ปริสลักษณะ32 เหมือนกับพระพุทธเจ้า(โคตม)ทุกประการ |
745 |
ลักขณสูตร คำทำนายมหาปุริสลัษณะ 32 ของพระพุทธเจ้า และเหตุปัจจัยอะไรที่สร้างไว้ จึงทำให้ได้ มหาปุริสลักษณะ32 |
746 |
ธรรมปริยายสูตร อุปบัติคด อุปบัติตรง อุปบัติคดคือกายกรรม-วจีกรรม-มโนกรรมคด คติและอุบัติย่อมคด.. อุปบัติตรงสุขส่วนเดียว |
747 |
กิมัตถิยสูตร อานนท์ถามพระศาสดา ศีลที่เป็นกุศล มีอะไรเป็นผล มีอะไรเป็นอานิสงส์ พ.ความไม่เดือดร้อนทั้งผล และเป็นอานิสงส์ |
748 |
เจตนาสูตร ธรรมทั้งหลายย่อมไหลไปสู่ธรรมทั้งหลายให้บริบูรณ์เพื่อถึงฝั่งนิพพาน นิพพิทา มีวิราคะเป็นผล มีวิราคะเป็นอานิสงส์ |
749 |
อุปนิสาสูตร : วิปฏิสาร- อวิปฏิสาร (ความไม่ร้อนใจ) ชื่อว่าบุคคลผู้ทุศีล มีศีลวิบัติขจัดเสียแล้ว เหมือนต้นไม้มีกิ่ง และใบวิบัติแล้ว |
750 |
เวสารัชชสูตร เวสารัชชญาณ 4 อย่าง ทรงประกาศปฏิญญา ตําแหน่งจอมโลก บันลือสีหนาทประกาศพรหมจักร ไม่มีใครเทียบ |
|
|
|
ก่อนตรัสรู้ |
751 |
751 ทรงตริตรึกเพื่อตรัสรู้ - ทรงเที่ยวแสวงเพื่อความตรัสรู้ |
|
751-1 ทรงแน่พระทัยว่าไม่อาจตรัสรู้เพราะการทำทุกรกิริยา ทรงเห็นว่าไม่เป็นทางตรัสรู้ ก็ทรงเลิกเสีย |
|
751-2
ทรงระลึกสมัยงานแรกนา เรานั่ง ณ ร่มหว้า สงัดจากกามและอกุศล บรรลุปฐมฌาน ชะรอยนั่นจักเป็นหนทางห่งการตรัสรู้บ้าง |
|
751-3
ปัญจวัคคีย์หลีก หลังตถาคตกลืนกินอาหารหยาบ คือข้าวสุกและขนมสดว่าเป็นคนมักมาก |
|
751-4
ทรงตริตรึกเพื่อตรัสรู้ ว่า - อะไรหนอ เป็น รสอร่อยในโลก อะไรเป็นโทษในโลก อะไรเป็น อุบายเครื่องออกไปจากโลก |
|
751-5
ทรงเที่ยวแสวงเพื่อความตรัสรู้ ซึ่งอนุตตรสัมมา สัมโพธิญาณ ก็แหละ ญาณทัศนะเครื่องรู้ |
752 |
752 ทรงคอยควบคุมวิตก ก่อนตรัสรู้(กามวิตก พยาปาท วิหิงสา)เราได้ละ-บรรเทา กามวิตก อันบังเกิดแล้วทําให้สิ้นสุดได้แล้ว |
753 |
753 ทรงกำหนดสมาธินิมิต ก่อนตรัสรู้ แสงและรูปที่เห็นเกิดขึ้นและหายไปเรา.. เมื่อครั้งยังเป็นโพธิสัตว์ก็จําแสงและการเห็นรูป |
754 |
754 ทรงกั้นจิตจากกามคุณในอดีต เมื่อเรายังเป็นโพธิสัตว์ ความรู้สึกเกิดขึ้นว่า กามคุณห้าที่เป็นอดีต เคยสัมผัสมาแล้วได้ดับไป |
|
754-1 ทรงกั้นจิตกามคุณในอดีต ...ความไม่ประมาทและสติ เป็นสิ่งซึ่งเราหวังประโยชน์แก่ตนเอง พึงกระทําให้เป็นเครื่องป้องกันจิต |
|
754-2 ทรงค้นวิธีแห่งอิทธิบาท..อิทธิบาทอันประกอบพร้อมด้วยเครื่องปรุงแต่งมีสมาธิอาศัย ฉันทะ เป็นปธานกิจว่าด้วยอาการอย่างนี้ |
|
754-3 ทรงคิดค้นเรื่องเบญจขันธ์ ความสงสัยได้เกิดขึ้นแก่เราว่า อะไรหนอเป็นรสอร่อยของรูป.. โทษของรูป.. อุบายเครื่องพ้นไปได้ |
755 |
755 ทรงคิดค้นเรื่องเวทนาโดยละเอียด / ทรงแสวงเนื่องด้วยเบญจขันธ์/ทรงค้นลูกโซ่แห่งทุกข์ |
|
755-1 ทรงคิดค้นเรื่องเวทนาโดยละเอียด ก่อนตรัสรู้ |
|
755-2 ทรงแสวงเนื่องด้วยเบญจขันธ์ ก่อนตรัสรู้ |
|
755-3 ทรงค้นลูกโซ่แห่งทุกข์ ก่อนตรัสรู้ |
|
755-4 ทรงค้นลูกโซ่แห่งทุกข์ ก่อนตรัสรู้ (อีกนัยหนึ่ง) |
756 |
756 ทรงพยายามในอธิเทวญาณทัศนะเป็นขั้นๆ / ทรงทำลายความขลาด /ธรรมที่ทรงอบรมอย่างมาก ก่อนตรัสรู้ |
|
756-1 ทรงพยายามใน อธิเทวญาณทัศนะ เป็นขั้นๆ ก่อนตรัสรู้ |
|
756-2 ทรงทำลายความขลาด ก่อนตรัสรู้ |
|
756-3 ธรรมที่ทรงอบรมอย่างมาก ก่อนตรัสรู้ |
757 |
757 วิหารธรรมที่ทรงอยู่มากที่สุด ก่อนตรัสรู้ ยังไม่ได้ตรัสรู้ ยังเป็นโพธิสัตว์อยู่ ย่อมอยู่ด้วยวิหารธรรม คือ อานาปานสติสมาธิ |
758 |
758 ทรงพยายามในเนกขมัมจิต และอนุปุพพวิหารสมาบัติ ก่อนตรัสรู้ |
759 |
759 ทรงอธิษฐานความเพียร ก่อนตรัสรู้ / ความฝันครั้งสำคัญ ก่อนตรัสรู้ |
|
759-1 ทรงอธิษฐานความเพียร ก่อนตรัสรู้ |
|
759-2 ความฝันครั้งสำคัญ ๕ อย่าง ก่อนตรัสรู้ ปฐพีเป็นที่นอนของตถาคต เขาหิมวันต์เป็นหมอน หญ้าคางอกขึ้นจากสะดือจดฟ้า.. |
760 |
760 อาการแห่งการตรัสรู้ บรรลุ ฌาน 1 2 3 4 จากนั้นบรรลุวิชชา 3 ได้แก่ บุพเพนิวาสานุสสติญาณ จุตูปปาตญาณ .อาสวักขยญาณ |
|
หลังตรัสรู้ |
761 |
761 สิ่งที่ตรัสรู้ สุดโต่ง ...ทางสายกลางอันประเสริฐคือองค์ 8 ความจริงอันประเสริฐ เรื่องความทุกข์ ความเกิด แก่ เจ็บ ตาย |
762 |
762 การตรัสรู้คือการทับรอยแห่งพระพุทธเจ้าในอดีต เปรียบเหมือนบุรุษเที่ยวไปในป่าทึบ พบรอยทางซึ่งเคยเป็นหนทางเก่า |
763 |
763 การตรัสรู้คือการ ทรงรู้แจ้งผัสสายตนะโดยอาการห้า / เกิดแสงสว่าง / แผ่นดินไหว เนื่องด้วยการตรัสรู้ |
764 |
764 การรู้สึกพระองค์ว่าได้ตรัสรู้แล้ว/วิหารธรรมที่ทรงอยู่ เมื่อตรัสรู้แล้วใหม่ๆ |
|
764-1 รู้สึกพระองค์ว่าได้ตรัสรู้แล้ว ความหลุดพ้นของเราไม่กลับกำเริบ การเกิดครั้งนี้เป็นครั้งสุดท้าย ภพใหม่มิได้มีอีก |
|
764-2 วิหารธรรมที่ทรงอยู่ เมื่อตรัสรู้แล้วใหม่ๆ |
765 |
765 ทรงเป็นลูกไก่ตัวพี่ที่สุด / ทรงเป็นผู้ข่มอินทรีย์ได้ |
|
765-1 ทรงเป็นลูกไก่ตัวพี่ที่สุด..เราทําลายเปลือกห่อหุ้ม คืออวิชชาออกมาได้ก่อนใครๆ เป็นบุคคลแต่ผู้เดียวในโลกที่รู้พร้อมเฉพาะ |
|
765-2 ทรงเป็นผู้ข่มอินทรีย์ได้...จักขุเป็นสิ่งซึ่งมีรูปเป็นที่ยินดี อันรูปทําให้บันเทิงพร้อมแล้ว ตถาคตควบคุม รักษาไว้ได้แล้ว |
766 |
766 ทรงมีตถาคตพลญาณสิบอย่าง / ทรงมีตถาคตพลห้าอย่าง |
|
766-1 ทรงมีตถาคตพลญาณ สิบอย่าง คือ รู้ฐานะและอฐานะ รู้วิบาก รู้ปฏิปทา รู้เรื่องธาตุ รู้อธิมุตติ รู้ความยิ่ง-หย่อน รู้ขันธ์อดีต |
|
766-2 ทรงมีตถาคตพล ห้าอย่าง สัทธาพละ หิริ โอตตัปป วิริย ป๎ญญา ที่ตถาคต ปฏิญญาตําแหน่งจอมโลก บันลือสีหนาท |
767 |
767 ทรงทราบอินทรีย์ของสัตว์ ของบุคคล4 จำพวก แม้หยดน้ำลงกะทะร้อน ให้หายไปอย่างรวดเร็ว ก็ถือว่ายังมีอุปธิ |
768 |
768 ทรงมีและทรงแสดงยถาภูตญาณ ที่ทำให้แจ้งอธิมุตติบท /ทรงมีเวสารัชชญาณสี่อย่าง |
|
768-1 ทรงมีและทรงแสดง ยถาภูตญาณ ที่ทำให้แจ้งอธิมุตติบท ญาณอื่นที่ยิ่งกว่าประณีตกว่า ญาณนั้น ย่อมไม่มี |
|
768-2 ทรงมี เวสารัชชญาณสี่อย่าง ตถาคตประกอบ พร้อมแล้ว ปฏิญญาตำแหน่ง จอมโลก บันลือสีหนาทประกาศพรหมจักร |
769 |
769 ทรงประกาศพรหมจักร ท่ามกลางบริษัท ได้แก่ทรงประกาศ... 1.ขันธ์5 2.กฎอิทัป 3.ปฏิจจ สายเกิด 4.ปฏิจจ สายดับ) |
|
|
770 |
สังกัปปะ ถอดคำสาธยายธรรมจากคลิป รูป (กามภพ รูปภพ อรูปภพ) สังกัปปะ |
771 |
ทุติยวรรคที่ ๒ ธรรม ๑๐ ๒๐ ๓๐ ๔๐ ประการ (กุศลกรรมบถ ๑๐ ๒๐ ๓๐ ๔๐ ) ผู้ถูกทอดทิ้งในนรกนรก และผู้ถูกเชิญมาไว้ในสวรรค์ |
772 |
พระเจ้าจักรพรรดิ์ พระนามว่า ทัลหเนมิ ผู้ทรงธรรม มีมหาสมุทรทั้ง4 เป็นขอบเขต ทรงชนะข้าศึกโดยธรรม มิต้องใช้ศัสตรา |
773 |
เหตุที่ทำให้มนุษย์ จากอายุ ๘๐,๐๐๐ ปี ลดลงเหลือ 10 ปี |
774 |
ความหมายของคำว่า "โลก" (รวบรวมจากหลายพระสูตร) |
|
เรื่องธาตุ นานัตตสูตร |
775 |
๑. ธาตุนานัตตสูตร..
ว่าด้วยความต่างแห่งธาตุ |
776 |
๒. ผัสสนานัตตสูตร..
ว่าด้วยความต่างแห่งผัสสะ |
776 |
๓. โน ผัสสนานัตตสูตร.. ว่าด้วยธาตุที่ ไม่อาศัย ความต่างแห่งผัสสะ |
777 |
๔. เวทนานานัตตสูตร..
ว่าด้วยความต่างแห่งเวทนา |
777 |
๕. ทุติยเวทนานานัตตสูตร.. ว่าด้วยความต่างแห่งเวทนา สูตรที่ ๒ |
778 |
๖. พาหิรธาตุนานัตตสูตร.. ว่าด้วยความต่างแห่งธาตุภายนอก |
778 |
๗. สัญญานานัตตสูตร.. ว่าด้วยความต่างแห่งสัญญา |
779 |
๘. โนปริเยสนานานัตตสูตร.. ว่าด้วยธาตุที่ไม่อาศัยความต่างแห่งปริเยสนา |
780 |
๙. พาหิรผัสสนานัตตสูตร.. ว่าด้วยความต่างแห่งผัสสะเพราะอาศัยธาตุภายนอก |
781 |
๑๐. ทุติยพาหิรผัสสนานัตตสูตร.. ว่าด้วยความต่างแห่งผัสสะเพราะอาศัยธาตุภายนอก สูตรที่ ๒ |
782 |
สัตตธาตุสูตร.. ว่าด้วยธาตุ ๗ ประการ |
783 |
สนิทานสูตร.. ว่าด้วยธรรมที่เป็นต้นเหตุ |
784 |
นานานัตตธาตุ.. ปฏิจจสมุปบาทแห่งอารัมมณลาภ นานัตตะ (การได้อารมณ์หก) |
785 |
ปสาทกรธัมมาทิบาลี ภิกษย่อมเจริญฌาน เมตตาจิต สติปัฏฐาน๔ สัมมัปทาน๔ อิทธิบาท๔ อินทรีย์๕ พละ๕ โพชฌงค์๗ มรรค๘ |
786 |
สาวัตถีนิทานบริบูรณ์ พิจารณาขันธ์๕ ด้วย อาการ ๔๐ ย่อมเข้าสู่สัมมัตตนิยาม เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นดังหัวฝี |
787 |
เทวดาชั้นจาตุ ตรวจดูโลกในวันอุโบสถ ราชสูตร มนุษย์ทำบุญมาก-น้อย มีผลต่อเทวดาชั้นดาวดึงส์ ทำบุญน้อยกายจะเสื่อม |
788 |
อธิปไตยสูตร อัตตาธิปไตย(ความคิดตนเอง) โลกาธิปไตย(คนส่วนมาก) ธรรมาธิปไตย(เหตุผล) |
789 |
อินทริยภาวนาสูตร อินทรีย์ภาวนาชั้นเลิศ ของผู้เจริญอินทรีย์(ไวดุจกระพริบตา ของเสขะ(เบื่อหน่าย)..ของอริยะ(เห็นเป็นของปฏิกูล) |
|
พราหมณ์และเหล่าปริพาชก เข้าเฝ้าพระศาสดา |
790 |
พราหมณสูตร พราหมณ์ปริพาชก ตรัสถามพระผู้มีพระภาค ถึงธรรมที่ควรเรียกกันมาดู..คือจิตที่ไม่มีราคะ โทสะ โมหะ ครอบงำ |
791 |
ปริพาชกสูตร พราหมณ์ปริพาชก บุคคลผู้ถูกโมหะครอบงำ ย่อมคิดเบียดเบียน ประพฤติทุจริต ไม่รู้ชัดตามความเป็นจริง |
792 |
นิพพุตสูตร ชานุสโสณีพราหมณ์ ตรัสถามหลักธรรมเพื่อเข้าถึงนิพพานที่สามารถบรรลุได้เอง เห็นเอง อันวิญญูชน พึงรู้เฉพาะตน |
793 |
ปโลภสูตร พราหมณ์มหาศาล ทูลถามว่า ทำไมมนุษย์จึงมีน้อยลง.. เพราะความโลภจึงฆ่ากัน ฝนไม่ตกตามฤดู ยักษ์ปล่อยมีอมุษย์ |
794 |
สอุปาทิเสสสูตร อัญญเดียรถีย์ปริพาชก กล่าวกับสารีบุตร ว่าผู้ที่ได้ สอุปาทิเสส (อรหันต์) เมื่อกระทำกาละแล้วไม่พ้นนรก |
795 |
ชัปปสูตร วัจฉ-ปริพาชก นำเรื่องไม่จริงมาทูลถามศาสดา ตรัสว่าแม้น้ำล้างภาชนะยังเป็นบุญ จะป่วยกล่าวไปไยถึงทานในมนุษย์ |
796 |
ติกรรณสูตร ติกรรณพราหมณ์ วิชชา๓ ของพราหมณ์เป็นสกุล7 ชั่วโคตร... แต่ในอริยวินัยของศาสดาได้ ฌาน 1-4 และวิชชา3 |
797 |
สังคารวสูตร สังคารวพราหมณ์ ทรงแสดงธรรมเรื่องปาฏิหาริย์ 3 อย่าง อิทธิปาฏิหาริย์ อาเทสนาปาฏิหาริย์ อนุสาสนีปาฏิหาริย์ |
798 (672) |
อริยสัจสี่ อันมีรอบ(ปริวัฏฏ์)สาม มีอาการสิบสอง..สัจจญาณ กิจจญาณ กตญาณ(ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่างเกิดขึ้นแล้ว) |
799 |
ตติยปาราชิกสิกขาบท นิทานปฐมบัญญัติ เรื่องภิกษุหลายรูป.. ภิกษุฆ่าตัวตาย จากการพิจารณาอสุภ จนเกลียดกายว่าดุจซากศพ |
800 |
กวฬิงการาหาร อาหารคือคำข้าว อุปมาสามีภรรยาเดินทางสู่ที่กันดาร เมื่อเสบียงหมด จึงฆ่าลูกน้อยผู้น่ารัก ทำเนื้อเค็ม เนื้อย่าง |
|