|
|
|
|
พระสูตรชุดเต็ม ชุด 11 |
|
|
|
|
|
1101 |
ขันธ์ ๕ และ อุปมาขันธ์ ๕
(1) ขันธ ๕ คือมาร
(2) ขันธ์ ๕ เป็นผู้ทำให้ตาย เป็นผู้ตาย เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร
เป็นความยากลำบาก...
(3) ขันธ์ ๕ เป็นทั้งผู้ฆ่า และผู้ตาย
(4) คือ
ปัญจุปาทานขันธ์ (ขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน) คือที่ตั้งแห่งอุปาทาน
(5) ขันธ์ ๕ คือ สักกายะ และสักกายันตระ
(6) ขันธ์ ๕ เป็นที่บัญญัติกฎแห่งสังขตะ : กฎแห่งความบังเกิดขึ้น กฎแห่งความเสื่อมไปก็ดี
(7) ขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ เป็นทุกขธรรม (มีทุกข์เป็นธรรมดา) เป็นอนัตตา นั้นไม่ใช่ของเรา
(8) เหตุปัจจัยของ ขันธ์ ๕ ก็เป็นทุกข์ เมื่อเหตุปัจจัยเป็นทุกข์แล้ว จักเป็นสุขได้อย่างไร
(9) เหตุปัจจัยของ ขันธ์ ๕ ก็เป็นอนัตตา
(10) สุข-ทุกข์ เนื่องจากการมีอยู่แห่งขันธ์ทั้ง ๕
(11) อุปมาแห่ง ขันธ์ ๕
(12) ขันธ์ ๕ เป็นสิ่งที่ควรรอบรู้
(13) มูลฐานแห่งการบัญญัติ ขันธ์ ๕ (แต่ละขันธ์)
(14) การถูกตราหน้าเพราะอนุสัยใน ขันธ์ ๕ (15) การถูกตราหน้าเพราะตายตาม ขันธ์ ๕
(16) สัญโญชน์ และที่ตั้งแห่งสัญโญชน์
(17) ความลับของ ขันธ์ ๕
(18) ขันธ์ ๕ เป็นธรรมฝ่ายที่แตกสลายได้
(19) ขันธ์ ๕ ไม่เป็นไปตามความต้องการของเรา
(20) สิ่งใดมิใช่ของเรา
(21) ขันธ์ ๕ เป็นภาระที่หนัก
(22) ขันธ์ ๕ เป็นกองถ่านเถ้ารึง(กองเถ้าที่ยังร้อนระอุ)
(23) ขันธ์ ๕ เป็นเครื่องผูกพันสัตว์
(24) เรียกกันว่า “สัตว์” เพราะติด ขันธ์ ๕
(25) ไม่รู้จัก ขันธ์ ๕ ชื่อว่ามีอวิชชา
(26) เพลินใน ขันธ์ ๕ เท่ากับเพลินในทุกข์
(27) ขันธ์๕ คือที่สุดแห่งโลก คือที่สุดแห่งทุกข์
(28) กายนี้( ขันธ์ ๕) เป็น “กรรมเก่า” เป็นเพียงกระแสปฏิจจสมุปบาท
(29) ขันธ์ ๕ เป็นไฉน
(30) อุปาทานขันธ์ ๕ (ขันธ์ เป็นที่ตั้งแห่งอุปทาน)
(31) “สิ่งนั้น” หาพบในกายนี้ (ขันธ์ ๕) คือที่สุดแห่งโลก ที่สุดแห่งทุกข์
(32) ขันธ์ ๕ ไม่เที่ยง คำสอนที่ทรงสั่งสอนบ่อยมาก
(33) ย่อมยุบ ย่อมไม่ก่อ ย่อมขว้างทิ้ง ย่อมไม่ถือเอา ซึ่ง..ขันธ์ ๕
(34) ธรรมชาติของ ขันธ์ ๕ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
(35) เราถูกขันธ์ ๕ เคี้ยวกินอยู่ จึงไม่เพ่งต่อขันธ์ ๕ อันเป็นอดีต ไม่เพลินต่ออนาคต
(36) ขันธ์๕ ไม่เที่ยงเป็นทุกข์.. ควรหรือหนอ ? ที่จะตามเห็นสิ่งนั้นว่า “นั่นของเรา นั่นเป็นเรา
(37) ขันธ์๕ ที่เป็นอดีต-อนาคต-ปัจจุบัน มีภายใน-ภายนอก
(38) ขันธ์๕ (ระดับเสขะ) เธอย่อมยุบ ย่อมไม่ก่อ ย่อมขว้างทิ้ง ย่อมไม่ถือเอา
(39) ขันธ์๕ (ระดับอเสขะ) ไม่ก่อไม่ยุบแต่ยุบแล้วดำรงอยู่ ไม่ขว้างทิ้งไม่ถือเอาแต่ทิ้งแล้วดำรงอยู่
(40) ขันธ์ ๕ เป็นของเร่าร้อน รูป เวทนา สัญญาเป็นของเร่าร้อน ผู้ใดเห็นอยู่แบบนี้ย่อมเบื่อหน่ายคลายกำหนัดจึงหลุดพ้น
|
|
|
|
|
1102 |
ผู้เข้าถึงสัญญาเวทยิตนิโรธ แต่กายแตกดับก่อนบรรลุอรหันต์ แล้วจะไปเกิดที่ไหน (นิโรธสูตร) |
|
1103 |
ทดสอบความเป็นอรหันต์ อรหันต์ 3 รูป เหตุแห่งความสามัคคี (จูฬโคสิงคสาลสูต) พระอนุรุทธ พระนันทิยะ พระกิมิละ |
|
1104 |
ภัยในอนาคต ๕ ประการ อนาคตสูตรที่ ๔ ภิกษุเป็นผู้ชอบจีวร ชอบบิณฑบาต ขอบเสนาสนะ คลุกคลีภิกษุณี คลุกคลี... |
|
1105 |
(คลิป)สมาธิแบ่งตามความประณีตของธาตุ มี 2 ประเภท...1.สัมมาสมาธิอันเป็นอริยะ 2 สมาธิ 9 ระดับ และสัญญาเวทยิต (ลำแสง) |
|
1106 |
อนุปุพพนิโรธสูตร ๙ ประการ จิตตั้งมั่น-ความดับไปตามลำดับ อกุศลย่อมดับในปฐมฌาน..วิตกวิจารของผู้เข้าตติยฌานย่อมดับ |
|
1107 |
ธนัญชานีสูตรที่ ๑ บุคคลฆ่าอะไรได้ ย่อมนอนเป็นสุข...ฆ่าความโกรธ |
|
1108 |
เรื่องชนะความโกรธ อักโกสกสูตรที่ ๒ บุคคลไม่โกรธตอบ บุคคลผู้โกรธแล้ว ชื่อว่าย่อมชนะสงคราม อันบุคคลชนะได้โดยยาก |
|
1109 |
ใครพึงสางตัณหาพายุ่งนี้ได้ ชฏาสูตรที่ ๖ ..คนมีปัญญา ตั้งมั่นในศีล อบรมจิตและปัญญา ให้เจริญมีความเพียร พึงสางได้... |
|
1110 |
ปฏิจจสมุปบาท ที่ตรัสระคนกับปัญจุปาทานขันธ์ ดูก่อนภิกษุ ท. อาชีพต่ำที่สุด ในบรรดาอาชีพทั้งหลาย คือการขอทาน |
|
1111 |
ธรรมที่เป็นบาปอกุศล มีเหตุเกิดจึงเกิดขึ้น ไม่มีเหตุเกิดย่อมไม่เกิด นัยยะแห่งขันธ์ 5 ...ธรรมที่เป็นบาปมีรูปจึงเกิดขึ้น ไม่มีรูปไม่เกิด |
|
1112 |
สุขของปุถุชน กับ สุขของพระอริยะเจ้า อย่างใดเลิศกว่ากัน สุขอิงอามิส- สุขไม่อิงอามิส ...สุขไม่อิงอามิสเป็นเลิศ |
|
1113 |
อสังขตะ (๑) คือ ความสิ้นราคะ โทสะ โมหะ ทางที่จะไปให้ถึงอสังขตะ คือ...(1) กายคตาสติ (2) สมถะ และวิปัสนา |
|
1114 |
อสังขตะ (๒) ทางที่จะไปให้ถึงอสังขตะคือ สมถะและวิปัสสนา /สมาธิ 8 ระดับ / โพธิปักขิยธรรม 37 / กายคตาสติ |
|
1115 |
ปัญหาที่พระศาสดาไม่ทรงพยากรณ์ (เขมาเถรีสูตร)สัตว์ตายแล้วย่อมเกิดหรือหนอ,ไม่เกิดอีกหรือ,เกิดอีกก็มีไม่เกิดอีกก็มีหรือหนอ |
|
1116 |
เทศนาสูตร พ.จะแสดงธรรมให้บุคคลจำพวกใดก่อน ทรงอุปมาชาวนาหว่านกล้าว่าจะเลือกนาไหนก่อน นาดี ปานกลาง หรือนาเลว |
|
1117 |
บุคคล ๔ จำพวก(สังโยชน์สูตร) อริยะบุคคล ตั้งแต่สกทาคามีขึ้นไป ที่ยังละสังโยชน5 ได้-ไม่ได้, สร้างการเกิดและภพได้-ไม่ได้ |
|
1118 |
อัจฉริยัพภูตธัมมสูตร สิ่งมหัศจรรย์ ๑๔ อย่าง เป็นปาฎิหาริย์ ในการประสูติ
ของพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ |
|
1119 |
ปฏิปักษ์ ๑๐ ประการ กัณฏกสูตร คลุกคลีปฏิปักษ์ยินดีในที่สงัด เสียงเป็นปฏิปักษ์ต่อปฐมฌาน วิตกวิจารเป็นปฏิปักษ์ต่อทุติยฌาน |
|
1120 |
ความตระหนี่ ๕ อย่าง (มัจฉริยะ๕) ตระหนี่ที่อยู่ ตระหนี่สกุล ตระหนี่ลาภ ตระหนี่วรรณะ ตระหนี่ธรรม (ตระหนี่ธรรมน่าเกลียดยิ่ง) |
|
|
|
|
1121 |
สังคีติสูตร พระสารีบุตรแสดงธรรมแทนพระพุทธเจ้าให้กับภิกษุ 500 ที่แคว้นมัลละ เรื่องธรรมที่มีประเภทละ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ..๑๐ |
|
1122 |
ธรรมมีประเภทละ ๑ ธรรมมีประเภทละ ๒ นาม - รูป/อวิชชา - ภวตัณหา/ ภวทิฐิ - วิภวทิฐิ/ความไม่ละอาย - ความไม่เกรงกลัว |
|
1123 |
ธรรมมีประเภทละ ๓ (60เรื่อง) อกุศลมูล-กุศลมูล๓อย่าง,ทุจริต-สุจริต๓,อกุศลวิตก-กุศล, อกุศลสังกัปปะ-กุศล,ธาตุอีก๓, ตัณหา๓ |
|
1124 |
ธรรมมีประเภทละ ๔ (50 เรื่อง) ธาตุ ๔ อย่าง.. อาหาร๔ ..วิญญาณฐิติ ๔ ..ธรรมขันธ์ ๔.. กรรม ๔ ..การก้าวลงสู่ครรภ์ ๔ อย่าง |
|
1125 |
ธรรมมีประเภทละ ๕ (26 เรื่อง) ขันธ์ ๕ .อุปาทานขันธ์ ๕ ..กามคุณ ๕..คติ ๕ มัจฉริยะ ๕ นีวรณ์ ๕ สิกขาบท ๕ (ศีล๕) |
|
1126 |
ธรรมมีประเภทละ ๖ (22 เรื่อง) อายตนะภายใน ๖ ภายนอก ๖.. วิญญาณ๖ ผัสสะ๖ เวทนา๖ สัญญา๖ สัญเจตนา ๖ ตัณหา๖ ธาตุ ๖ |
|
1127 |
ธรรมมีประเภทละ ๗ (14 เรื่อง) อริยทรัพย์ ๗ อย่างโพชฌงค์บริขารของสมาธิ อสัทธรรม สัทธรรม สัปปุริสธรรม นิทเทสวัตถุ สัญญา
|
|
1128 |
ธรรมมีประเภทละ ๘ (8 เรื่อง) มิจฉัตตะ ๘ สัมมัตตะ ทักขิเณยยบุคคล กุสีตวัตถุ๘ อารัพภวัตถุ อย่างทานวัตถุ ทานุปบัติ โลกธรรม |
|
1129 |
ธรรมมีประเภทละ ๙ (6 เรื่อง) อาฆาตวัตถุ ๙ อาฆาตปฏิวินัย สัตตาวาส อนุปุพพวิหาร อนุปุพพนิโรธ |
|
1130 |
ธรรมมีประเภทละ ๑๐ (6 เรื่อง) นาถกรณธรรม๑๐ กสิณายตนะ๑๐ อกุศลกรรมบถ๑๐ กุศลกรรมบถ๑๐ อริยวาส๑๐ อเสกขธรรม ๑๐ |
|
|
|
|
|
ธรรมที่มีอุปาระมาก (แสดงธรรมีกถาโดยพระสารีบุตร) |
|
1131 |
ธรรมอย่างหนึ่ง มีอุปการะมาก (พระสารีบุตรแสดงธรรมให้กับภิกษุ ๕๐๐ รูป) -ทสุตตรสูตร |
|
1132 |
ธรรม ๒ อย่าง มีอุปการะมาก (พระสารีบุตรแสดงธรรมให้กับภิกษุ ๕๐๐ รูป) - ทสุตตรสูตร |
|
1133 |
ธรรม ๓ อย่าง มีอุปการะมาก (พระสารีบุตรแสดงธรรมให้กับภิกษุ ๕๐๐ รูป) - ทสุตตรสูตร |
|
1134 |
ธรรม ๔ อย่าง มีอุปการะมาก (พระสารีบุตรแสดงธรรมให้กับภิกษุ ๕๐๐ รูป) - ทสุตตรสูตร |
|
1135 |
ธรรม ๕ อย่าง มีอุปการะมาก (พระสารีบุตรแสดงธรรมให้กับภิกษุ ๕๐๐ รูป) - ทสุตตรสูตร |
|
1136 |
ธรรม ๖ อย่าง มีอุปการะมาก (พระสารีบุตรแสดงธรรมให้กับภิกษุ ๕๐๐ รูป) - ทสุตตรสูตร |
|
1137 |
ธรรม ๗ อย่าง มีอุปการะมาก (พระสารีบุตรแสดงธรรมให้กับภิกษุ ๕๐๐ รูป) - ทสุตตรสูตร |
|
1138 |
ธรรม ๘ อย่าง มีอุปการะมาก (พระสารีบุตรแสดงธรรมให้กับภิกษุ ๕๐๐ รูป) - ทสุตตรสูตร |
|
1139 |
ธรรม ๙ อย่าง มีอุปการะมาก (พระสารีบุตรแสดงธรรมให้กับภิกษุ ๕๐๐ รูป) - ทสุตตรสูตร |
|
1140 |
ธรรม ๑๐ อย่าง มีอุปการะมาก (พระสารีบุตรแสดงธรรมให้กับภิกษุ ๕๐๐ รูป) - ทสุตตรสูตร |
|
|
|
|
1141 |
สังโยชน์ในภายใน-นอก บุคคล ๓ จำพวก อาคามี และอนาคามี แสดงธรรมโดยพระสารีบุตร แต่มีเทวดาพรหมเข้าฟังจำนวนมาก |
|
1142 |
ธรรมสมาทาน ๔ อย่าง คือ 1.แบบสุขปัจจุบัน..มีทุกข์เป็นวิบาก 2.ทุกข์ปัจจุบัน.. ทุกข์เป็นวิบาก 3. ทุกข์ปัจจุบัน.. สุขเป็นวิบาก |
|
1143 |
อนุสสติ ๖ ประการ อริยสาวก 1.ย่อมระลึกถึงตถาคต 2.พระธรรม 3.พระสงฆ์ 4.ศีลของตน 5.จาคะของตน 6.ระลึกถึงเทวดาว่ามีอยู่ |
|
1144 |
อัคคิขันธูปมสูตร คำเตือนของ พ.เรื่องภิกษุทุศีล หลังตรัสจบภิกษุ ๖๐ รูป เลือดพุ่งออกจากปาก,๖๐ รูปลาสิกขา,๖๐รูป จิตหลุดพ้น |
|
1145 |
แก้ว ๗ ประการ (ย่อ) ของพระเจ้าจักรพรรดิ (พาลบัณฑิตสูตร) 1.จักรแก้ว2.ช้างแก้ว3.ม้าแก้ว4.มณีแก้ว5.นางแก้ว6.ขุนคลังแก้ว |
|
1146 |
แก้ว ๗ ประการ ของพระเจ้าจักรพรรดิ (พาลบัณฑิตสูตร) พระสูตรเต็ม พระเจ้าจักรพรรดิ ประกอบด้วยความสัมฤทธิผล ๔ อย่าง |
|
1147 |
จุลศีล มัชฌิมศีล มหาศีล (วินัยสงฆ์) รวม 307เรื่อง .. พระสมณโคดม ละการฆ่าสัตว์ เว้นจาการฆ่าสัตว์ มีเมตตา เอ็นดูสัตว์ |
|
1148 |
อาบัติ อนาบัติ (แสดงสิ่ง ที่ตรงตามคำสอนของพระศาสดา และแสดงสิ่งที่ตรงกันข้าม) |
|
1149 |
เหตุปัจจัยทำให้ศาสนาเสื่อม.. พุทธบริษัท๔ ไม่สนใจคำสอน.. เหมือนกลอง อานกะ ของพวกทสารหะ แตกแล้วก็เอาไม้อื่นตีเสริม |
|
|
|
|
|
บาลีแห่งเอกธรรม (ฉบับหลวง) |
|
1150 |
บาลีแห่งเอกธรรม วรรค ๑ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสของสตรี.... ย่อมครอบงำจิตของบุรุษ |
|
1151 |
บาลีแห่งเอกธรรม วรรค ๒ เราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่ง ที่จะเป็นเหตุให้ กามฉันทะ ที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น |
|
1152 |
บาลีแห่งเอกธรรม วรรค ๓ เราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่ง ที่ไม่อบรมแล้ว ย่อมไม่ควรแก่การงาน |
|
1153 |
บาลีแห่งเอกธรรม วรรค ๔ เราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่ง ที่ไม่ฝึกแล้ว
ย่อมเป็นไปเพื่อมิใช่ประโยชน์ อย่างใหญ่ |
|
1154 |
บาลีแห่งเอกธรรม วรรค ๕ เดือยข้าวสาลี ข้าวยวะที่ตั้งไว้ผิด จักทำลายมือและเท้า เปรียบได้คืออวิชชา ที่ต้องทำลาย |
|
1155 |
บาลีแห่งเอกธรรม วรรค ๖ จิตนี้ผุดผ่อง แต่จิตเศร้าหมอง เป็นอุปกิเลสที่จรมา ผู้ไม่ได้สดับย่อมเห็นจิตนั้นตามความเป็นจริง |
|
1156 |
บาลีแห่งเอกธรรม วรรค ๗ เมื่อเป็นผู้ปรารภความเพียร กุศลธรรมที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น อกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้วย่อมเสื่อมไป |
|
1157 |
บาลีแห่งเอกธรรม วรรค ๘
เมื่อบุคคลมีมิตรดี กุศลธรรม ที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น อกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมเสื่อมไป |
|
1158 |
บาลีแห่งเอกธรรม วรรค ๙ ความเจริญด้วยยศมีประมาณน้อย ความเจริญ ด้วยปัญญา เลิศกว่าความเจริญทั้งหลาย |
|
1159 |
บาลีแห่งเอกธรรม วรรค ๑๐ ความประมาท ย่อมเป็นไปเพื่อมิใช่ประโยชน์อย่างใหญ่ |
|
1160 |
บาลีแห่งเอกธรรม วรรค ๑๑ ภิกษุแสดง อธรรมว่า ธรรม ย่อมประสบบาปเป็นอันมาก..แสดง ธรรมว่า ธรรม ย่อมประสบบุญ |
|
|
|
|
1161 |
เอกบุคคลบาลี บุคคลผู้เอกเป็นไฉน คือ พระตถาคต อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า คือผู้อัจฉริยะ ประเสริฐกว่าสัตว์ทั้งหลาย |
|
1162 |
ภิกษุผู้ฉลาดใน ฐานะ และ อฐานะ คือผู้ถึงพร้อมด้วยทิฐิ ย่อมรู้ชัดว่า นี่มิใช่ฐานะ เช่นเห็นว่าสังขารเป็นของเที่ยง นี่ไม่ใช่ฐานะ |
|
1163 |
อุปมาเรื่อง ผ้าเปลือกปอ กับภิกษุ 3 ประเภท 1.ภิกษุบวชใหม่ผู้ทุศีล 2.ภิกษุมัชฌิมภูมิ(ยังไม่เป็นเถระ) 3.ภิกษุเถระ |
|
1164 |
ธรรมิกสูตรที่ ๑๔ ผู้ออกบวช(ภิกษุ)กับ อุบาสก(ชาย)ผู้ครองเรือน ทำอย่างไรจึงจะยังประโยชน์ให้สำเร็จทั้งของโลก และเทวโลก |
|
1165 |
สัญญา ๗ ประการ ๑.อสุภสัญญา ๒.มรณสัญญา ๓.อาหาเรปฏิกูล ๔.สัพพโลเกอนภิรต ๕.อนิจจ ๖.อนิจเจทุกข ๗.ทุกเขอนัตต |
|
1166 |
เรื่องพระนางมัลลิกา อะไรหนอ เป็นปัจจัยให้มาตุคาม มีผิวพรรณทราม ยากจน ต่ำศักดิ์ หรือ มีผิวพรรณงาม มั่งคั่ง และสูงศักดิ์ |
|
1167 |
สักกะสูตร (อุโบสถ๘ประการ) ว่าด้วยการรักษาอุโบสถอันประกอบด้วยองค์ ๘ ภิกษุไม่พึงประมาท มีความเพียร มีจิตมุ่งพระนิพพาน |
|
1168 |
อนิยต ห้ามภิกษุนั่งในที่ลับกับมาตุคาม ตัวต่อตัว เรื่องพระอุทายีกับนางวิสาขา มิคารมาตา สิกขาบทที่ ๑ และ สิกขาบที่ ๒ |
|
1169 |
เมถุนสูตร ข้อห้ามเรื่องการคลุกคลีกับมาตุคาม..ไม่ยืน ไม่เดิน ไม่นั่งสนทนาเป็นคู่ๆ ไม่เล่นหัว สัพยอก ไม่เพ่งดูด้วยความพอใจ |
|
1170 |
ปาสาทิกสูตร : สามเณรจุนทะเข้าเฝ้า พ. หลัง นิครนฐ์ ทำกาละ สาวกแบ่งเป็น 2 ฝ่ายจากการทะเลาะกันว่า ฝ่ายตนเหนือกว่า |
|
1171 |
มธุปิณฑิกสูตร โดยพระมหากัจจานะ"ธรรมบรรยายที่ไพเราะ" ส่วนแห่งสัญญาเครื่องเนิ่นช้าย่อมครอบงำบุรุษเพราะเหตุแห่งอนุสัย๗ |
|
1172 |
หมอชีวกโกมารภัจจ์ ประวัติ และการรักษาโรคให้กับบุคคลต่างๆ รวมทั้งเป็นหมอรักษาพระพุทธเจ้า ด้วย |
|
1173 |
ภิกษุณี สุนทรีนันทา ต้องปาราชิก เพราะเหตุเค้าคลึงกายกับบุรุษ ด้วยความกำหนัด พระศาสดาเพ่งโทษ พร้อมบัญญัติสิกขาบท |
|
1174 |
เรื่องพระฉัพพัคคีย์ หลงไหลสตรีรูปงามที่มีสามีแล้ว จึงวางแผน ให้สามีของนางเสียชีวิต พ.ทรงติเตียน ว่าไม่เหมาะ ไม่ควร |
|
1175 |
ธรรม ๔ ประการ : เพื่อความเจริญแห่งปัญญา : มีอุปการะมาก : โวหารอันมิใช่ของพระอริยะ และ ไม่ใช่ของพระอริยะ
|
|
1176 |
ทำความเพียรเผากิเลส แม้เดิน ยืน นั่ง นอน หากละ อกุศลวิตก คือ ๑.กามวิตก ๒. พยาปาทวิตก ๓. วิหิงสาวิตก (เบียดเบียน) |
|
1177 |
ความปรากฏแห่ง โลกธาตุ การจุติของสัตว์(ในช่วงแรกๆ) การกำเหนิดดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ ง้วนดิน เครือดิน กะบิดิน สะเก็ดดิน |
|
1178 |
สาติภิกษุ มีทิฏฐิลามก คิดว่า วิญญาณท่องเที่ยวไปแล่นไปไม่ใช่สิ่งอื่น พระผู้มีพระภาคเรียกมาสอบ.. ตรัสว่า "โมษะบุรุษ" |
|
1179 |
คนชั่ว- คนดี และ ผู้มีธรรมอันงาม- ผู้มีธรรมอันลามก ในแบบของพระพุทธเจ้า |
|
1180 |
อนุศาสนีปาฏิหาริย์นั้น อย่างไรเล่า? นัยยะที่1.เป็นผู้รักษาศีล สร้างกุศล ละอกุศล 2.ผู้เข้ามาบวช 3.ภิกษุผู้ปฏิบัติจนสิ้นอาสวะ |
|
1181 |
ทรงติเตียนเรื่องอวดอุตริ ... ยอดมหาโจร คืออวดคุณวิเศษที่ไม่จริง เพื่อการได้มาซึ่งอาหาร และโภคทรัพย์ |
|
1182 |
ห้ามอวดธรรมแก่ อนุสัมปัน (สามเณร และคฤหัสถ์) ต้องอาบัติปาจิตตีย์ เช่น ว่าตนได้ฌาน ได้ญาณ ได้สมาธิระดับต่างๆ |
|
1183 |
ขันธ์ ๕ เป็นของเร่าร้อน (กุกกุฬสูตร) รูป เวทนา สัญญาเป็นของเร่าร้อน ผู้ใดเห็นอยู่แบบนี้ย่อมเบื่อหน่าย คลายกำหนัดจึงหลุดพ้น |
|
1184 |
เรื่องที่ควรคิด-ไม่ควรคิด อย่าตรึกอกุศลวิตกอันลามก คือกามวิตก พยาบาท วิหิงสา เรื่องที่ควรคิดคือ(อริยสัจสี่) นี้ทุกข์ นี่เหตุเกิด |
|
1185 |
เรื่องที่ควรพูด-ไม่ควรพูด อย่าพูดแก่งแย่งในภูมิธรรม อย่าพูดเรื่อง ราชา โจร กองทัพ เรื่องสตรี บุรุษ ความเจริญ เรื่องทางโลก |
|
1186 |
ผลแห่งการละกิเลส (ตามลำดับ) แม้ระดับต่ำสุด เพียงแค่มีความเชื่อพระศาสดา รักพระศาสดา ก็ยังได้โบนัส ไปเกิดในสวรรค์ |
|
1187 |
กามธาตุ กามสัญญา กามสังกัปปะ กามธาตุ-กามสัญญาละได้จะได้ธรรมเครื่องอยู่เป็นสุข ละกามสังกัปปะจะได้ธรรมเครื่องอยู่สงบ |
|
1188 |
กามวิตก พยาบาทวิตก วิหิงสาวิตก (เบียดเบียน) ผู้ยินดีไม่ละไม่บรรเทาเรียกว่าผู้ไม่มีความเพียร..ผู้ไม่ยินดีเรียกว่าผู้มีความเพียร |
|
1189 |
อนุปุพพวิหารสมาบัติ ๙ ประการ..กามย่อมดับในที่ใด..วิตกและวิจารย่อมดับในที่ใด..ปีติย่อมดับในที่ใด.. อุเบกขาและสุขดับที่ใด |
|
1190 |
กุศลวิตก (สัมมาสังกัปปะ-ดำริชอบ)เนกขัมมวิตก(ดำริออกจากกาม) อัพ๎ยาปาทวิตก(ไม่พยาบาท) อัพ๎ยาปาทวิตก (ไม่เบียดเบียน)
|
|
1191 |
บาลีแห่งเอกธรรม รูป เสียง กลิ่น รส โผฐฐัพพะของสตรี ย่อมครอบงำจิตของบุรุษ ตรงกันข้ามย่อมครอบงำจิตของสตรีเช่นเดียวกัน |
|
1192 |
วัตถุกามเป็นไฉน? รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อันน่าพอใจ.. กิเลสกามเป็นไฉน? ฉันทะ ราคะ ฉันทราคะ สังกัปปะ ราคะ ... |
|
1193 |
การเว้นขาดกามด้วยเหตุ ๒ ประการ 1.โดยการข่มไว้โดยเห็นโทษ เจริญสติ เจริญภาวนา 2.เว้นขาดด้วยการเจริญอริยมรรค
|
|
1194 |
กามเสื่อมไปได้อย่างไร ถูกพระราชาริบไปบ้าง ถูกโจรลัก ถูกไฟไหม้ เสื่อมสลาย เมื่อกามอยู่ ย่อมกระสับกระส่ายเหมือนถูกศร |
|
1195 |
ว่าด้วยวิเวก ๓ อย่าง กายวิเวก (ความสงัดกาย) จิตตวิเวก (ความสงัดใจ) อุปธิวิเวก (ความสงัดอุปธิ) |
|
1196 |
กามทั้งหลายในโลก เป็นของที่นรชนละได้ยาก คือสละได้ยาก สละออกได้ยาก ข้ามได้ยาก |
|
1197 |
การดำรงสมาธิจิต เมื่อถูกเบียดเบียนทางวาจา - ทางกาย เราจักไม่แปรปรวน จักไม่กล่าววาจาอันเป็นบาป เราจักเป็นผู้มีเมตตา |
|
1198 |
นันทนสูตรที่ ๘ คาถาของมาร คนมีบุตรย่อมเพลินในบุตร..คาถา พ.คนมีบุตรย่อมเป็นทุกข์เพราะบุตร ผู้ไม่มีอุปธิ หาเป็นทุกข์ไม่ |
|
1199 |
ธรรมของพระเจ้าจักรพรรดิ (จักกวัตติสูตร) เจ้าจงอาศัยธรรม จงสักการะธรรม เคารพธรรม นับถือธรรม บูชาธรรม ยําเกรงธรรม |
|
1200 |
รวมเรื่องขุนเขาสิเนรุ อุปมาเรื่องขุนเขาสิเนรุ |
|
|
|