เว็บไซต์ อนาคามี เผยแพร่คำพระศาสดา เผยแพร่คำสอนตถาคต เว็บไซต์เผยแพร่พระสุตรคำสอนของพระพุทธเจ้า คลิปคำสอน คลิปสาธยายธรรม
  พระสูตร : สุตตะ(คำสอนพระศาสดา)
ค้นหาคำที่ต้องการ    

 
   
   

  พระสูตรชุดเต็ม ชุด 5    
501 บาป-โลณกสูตร ทำบาปไว้อย่างไร ต้องเสวยกรรมนั้น แม้บาปจะเล็กน้อย ก็นำเขาเข้านรก เพราะไม่อบรม กาย ศีล จิต ปัญญา
502 นาคสูตร อุปมาภิกษุที่หลีกเร้นอยู่ป่าเพื่อละนิวรณ์5 เช่นเดียวกับช้างประเสริฐที่อิดหนาระอาใจกับการกระทำของโขลงช้างด้วยกัน
503 ผู้ประเสริฐของโลก ๖ จำพวก บุคลผู้ประเสริฐของโลก1พระพุทธเจ้า 2พระปัจเจก 3สารีบุตร-พระโมคคัล 4อรหันต์ที่เหลือ
504 อสัตบุรุษ-สัตตบุรุษ เป็นไฉน? เป็นผู้มีความเห็นผิด ดำริผิด เจรจาผิด...ธรรม ๔ ประการของอสัตบุรุษ-สัตบุรุษ
505 เอกกนิทเทส บุคคลผู้พ้นแล้วเป็นไฉน... ผู้มีธรรมอันไม่เสื่อมเป็นไฉน... บุคคลชื่อว่าโสดาบัน ชื่อว่าปฏิบัติแล้วเพื่อทำให้แจ้ง...
506 วิโมกข์ ๘ ๑. ผู้ได้รูปฌาน ๒.ไม่มีความสำคัญในรูป ๓. น้อมใจเชื่อกสิณ ๔.บรรลุอากา ๕.วิญญา ๖.อากิญ ๗.เนว ๘.สัญญาเวทยิต
507 สุขตวินิโย ระเบียบถ้อยคำของพระสุคต พระสุคตนั้นย่อมทรงแสดงธรรม อันงามในเบื้องต้น และเหตุแห่งความเสื่อมพระสัทธรรม
508 ตัณหาสูตร เงื่อนต้นแห่งภวตัณหา อาหารของภวตัณหา คืออวิชชา อาหารอวิชชา คือนิวรณ์ ๕ อาหารนิวรณ์ ๕ คือ ทุจริต ๓
509 ผู้สมบูรณ์ด้วยทิฐิ 5 จำพวก (นิฏฐาสูตร) พวก1 เชื่อมั่นในโลกนี้ สัตตกขัตตุ โกลัง เอก.. พวก2 โลกนี้ไปแล้ว อนาคามี 5 จำพวก
510 สุขสูตร สุข ทุกข์ เกิดจากอะไร การเกิดเป็นเหตุให้เกิดทุกข์ การไม่เกิดเป็นเหตุให้เกิดสุข(1) ความไม่ยินดีเป็นเหตุให้เกิดทุกข์ ..
 
511 นฬกปานสูตร เรื่องที่พระสารีบุตรเตือนภิกษุ ให้มีศรัทธาในกุศลธรรมทั้งหลาย และพระผู้มีพระภาคตรัสชม
512 กามคุณ ๕ อย่าง.. รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส หาใช่กามไม่ ความกำหนัดไปตามอำนาจความตริตรึกนั่นแหละ คือ กามของคนเรา
513 เปรียบบุคคลด้วยดอกบัว ๓ เหล่า บางเหล่ายังไม่พ้นน้ำจมอยู่ในน้ำ.. บางเหล่าตั้งอยู่เสมอน้ำ.. บางเหล่าตั้งขึ้นพ้นน้ำ น้ำไม่ติด
514 ความฝันครั้งสำคัญ ก่อนตรัสรู้ 1.มหาปฐพีนี้เป็นที่นอนของตถาคต 2.หญ้าคางอกจากสะดือ 3.หนอนสีขาวหัวดำคลานขึ้นมา
515 เหตุเกิดแผ่นดินไหว 1.ธาตุกำเริบ 2.ผู้มีฤทธิ์ 3.ก้าวสู่พระครรภ์ 4.ประสูติ 5.ตรัสรู้ 6.แสดงธรรมจักร 7.ปลงสังขาร 8.ปรินิพพาน
516 เหตุเกิดแสงสว่าง ทั่วทั้งโลกธาตุ มี 3 เหตุการณ์ 1.เนื่องด้วยการประสูติ 2.เนื่องด้วยการตรัสรู้ 3. เนื่องด้วยการแสดงธรรมจักร
517 สงสารนี้กำหนดที่สุดเบื้องต้นเบื้องปลายไม่ได้ อุปมา มารดาของมารดาเรา มากกว่าท่อนไม้ทั้งป่าที่เป็นมัดๆ ละ ๔ นิ้ว วางไว้
518 ธาตุวิภังค์ 6..แสดงธรรมแก่ ปุกกุสาติ ที่โรงปั้นหม้อโดยไม่รู้ว่าเป็นพระพุทธเจ้า หลังฟังธรรมรู้สึกซาบซึ้ง คิดว่าเป็นพระพุทธเจ้าแน่
519 ธรรมญาณ อันวยญาณ ธัมมญาณ คือญาณในธรรม - อันวยญาณ คือญาณในการรู้ตาม ญาณคือความรู้ รู้ชัดในอริยสัจสี่ รู้ชัดว่าชรา มรณะ
520 ความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน เขาย่อมตามเห็น อยู่เป็นประจำซึ่งรูป โดยความเป็นตนบ้าง ตนมีรูปบ้าง รูปมีในตนบ้าง
 
521 กระดองของบรรพชิต เหมือนเต่าหดหัวในกระดองซึ่งปลอดภัย ภิกษุก็ต้องควบคุมทวารอินทรีย์ คือตา หูจมูก ลิ้นกายใจ เช่นกัน
522 ความหวาดสะดุ้งกลัว -คาถาป้องกันภัย ธชัคคสูตรที่ ๓ ภิกษุอยู่ป่า มีภัย ให้นึกถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
523 อุมิคสาลาสูตรปาทาน-สะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน ไม่สะดุ้งหวาดเสียว เพราะไม่มีอุปาทาน ในความแปรปรวนของ รูป เวทนา ..
524 อินทรีย์ของบุคคล ๑๐ จำพวก มิคสาลาสูตร คนหนึ่งประพฤติพรหมจรรย์ อีกคนหนึ่งไม่ แต่ไปเกิดในชั้นดุสิตเหมือนกัน...
525 วิฬารสูตร ภิกษุพึงสำรวมเมื่อเข้าสู่นิคม เธออาจเห็นมาตุคามนุ่มห่มผ้าลับๆล่อๆ จิตอันราคะรบกวนแล้ว ย่อมเข้าถึงความตาย
526 ศีล-ผลของการไม่มีศีล วิบากของผู้ทุศิล ย่อมเป็นไปเพื่อนรก เป็นไปเพื่อกำเนิดเดรัจฉาน เป็นไปเพื่อเปรตวิสัย
527 จิต-เห็นจิตในจิต - จิตหลุดพ้น จิตมีราคะ ก็รู้ชัดว่าจิตมีราคะ .. เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะ ซึ่งจิต หายใจเข้า .. เห็นขันธ์5 ว่าไม่เที่ยง
528 ความไม่มีโรคเป็นลาภอย่างยิ่ง เป็นนิพพานของคนตาบอด
529 นิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง นิพพานเห็นได้ยากยิ่ง พระอุทายี : ดูก่อนสารีบุตร นิพพานนี้ไม่มีเวทนา จะเป็นสุขได้อย่างไร
530 มิจฉาทิฐิ-ความเข้าใจผิดของชาวพุทธในเรื่องต่างๆ การสร้างพระพุทธรูป บทสวดต่างๆเช่น พาหุง ชินบัญชร ยอดพระกัณฑ์
 
531 กรรม - การทำกรรมทางใดมีโทษมากที่สุด กรรมทางใจ(มโนกรรม) มีผลมากที่สุด มีโทษมากที่สุด ตรัสกับปริพาชกถึง 3 ครั้ง
532 อายตนะ- ความเพลินในอายตนะ เท่ากับเพลินอยู่ในทุกข์ ไม่เพลิน เท่ากับไม่ทุกข์
533 ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้เจริญ ควรทำให้แจ้ง รู้ขันธ์5 ละอวิชชา- ภวตัณหา เจริญสมถะวิปัสนา แจ้งวิชชาวิมุตติ
534 กรรมเก่า-กรรมใหม่-ความดับแห่งกรรม กรรมเก่า คือตาหูจมูก.. กรรมใหม่คือการกระทำทางกายวาจาใจ ดับกรรมคือมรรค8
535 ธรรมย่อมไหลไปสู่ธรรม ผู้รู้เห็นตามเป็นจริง ไม่ต้องทำเจตนาว่า ขอเราจงเบื่อหน่ายเถิด. เพราะเห็นเป็นธรรมดา
536 ลักษณะของผู้ไม่ประมาท นัยที่ ๑ และ ๒ สำรวมอินทรีย์ เห็นรูปแล้วจิตไม่ฟุ้งซ่าน ปราโมทย์เกิดปิติเกิด. การเจริญมรณานุสติ
537 รูป-ความหมายของ รูป และ อุปมา : รูปคือ สิ่งที่แตกสลายได้ อุปมาของรูป เหมือนฟองน้ำไม่มีอะไรเลย เมื่อแตกเป็นของว่าง
538 ธาตุ ๔ รายละเอียดของธาตุสี่  1.ปฐวีธาตุ -ธาตุดิน 2.อาโปธาตุุ-ธาตุน้ำ 3.เตโชธาตุ-ธาตุไฟ 4.วาโยธาตุ-ธาตุลม
539 เวทนา ๑๐๘ : เวทนาประกอบด้วย เวทนา ๒ /เวทนา ๓ /เวทนา ๔./ เวทนา ๕. /เวทนา ๖. /เวทนา ๑๘/เวทนา ๓๖ /เวทนา ๑๐๘
540 สัญญามี ๖ หมวด สัญญาในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ในธรรม เพราะจำได้หมายรู้ จึงเรียกว่าสัญญา เช่นจำสีเขียว สีเหลือง
 
541 อนัตตา-ลักษณะความเป็นอนัตตา รูปเป็นอนัตตา ก็หากว่ารูปนี้จักเป็นอัตตาแล้วไซร้ รูปก็คงไม่เป็นไป เพื่ออาพาธ
542 อวิชชา-วิชชา (ความหมาย 3 นัยยะ) ไม่รู้ในทุกข์ เหตุให้เกิด ความดับ...ไม่รู้ชัด อันมีความเกิดขึ้น-เสื่อมไปเป็นธรรมดา
543 ความเพียรทำได้ในทุกอิริยาบถ แม้เดิน ยืน นั่ง นอน ถ้ากามวิตก พยาบาท-วิหิงสา เกิดขึ้น ก็ไม่รับเอา.. เรียกว่าเป็นผู้มีความเพียร
544 กายคตาสติ- อานิสงส์ของกายคตาสติ (นัยที่ ๑) กุศลธรรมย่อมหยั่งลสู่ใจผู้นั้น มารย่อมไม่ได้ช่อง ย่อมไม่ได้โอกาส
545 กายคตาสติ- อานิสงส์ของกายคตาสติ (นัยที่ ๒) กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อได้ปัญญา เพื่อความเจริญแห่งปัญญา
546 อาฬวกสูตรที่ ๑๐ ตรัสสอน อาฬวกยักษ์ หากไม่ตอบ จะควักดวงจิต(ตถาคต)โยนทิ้ง จักฉีกหัวใจ จะจับขว้างไปที่ฝั่งแม่น้ำคงคา
547 ขันธ์ ๕ คือ มาร นัยที่ ๑ - นัยที่ ๒ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณเป็นมาร.. เมื่อรูปมีอยู่ มารจึงมี ผู้ทำให้ตายจึงมี ผู้ตายจึงมี
548 อักโกสกสูตร : โทษของคนทุศีล ศีลวิบัติ ๕ ประการ เสื่อมทรัพย์ ศีลวิบัติย่อมฟุ้งไป ไม่องอาจ ตายไปย่อมเข้าถึง อบาย- นรก
549 สักกายะทิฐิ - รอบรู้ซึ่งสักกายะ และ เหตุเกิดแห่งสักกายทิฏฐิ รอบรู้สักกายสมุทัย นิโรธ นิโรธคามินี...รอบรู้เหตุเกิดสักกายทิฏฐิ

550

ความเพียร -สมัยที่ไม่สมควร และ สมควรความเพียร สมัยที่ไม่ควร: วัยแก่ชรา- อาพาธ- ข้าวแพง - สมัยที่มีภัย- สงฆ์แตกกัน
 
551 บุคลล ๔ ประเภท ลักษณะของบุคคลสี่ประเภท :กายออกจิตไม่ออก กายไม่ออกจิตออก กายไม่ออกจิตไม่ออก กายออกจิตออก
552 ความเพียร : สิ้นกิเลสก็แล้วกัน ไม่ต้องรู้ว่าสิ้นไปเท่าไหร่ อุปมาเหมือนด้ามมีดที่สึกไป หรือคั้นเมล็ดงาย่อมได้น้ำมัน
553 กามวิตก อกุศลวิตก กามวิตก -ความตริตรึกในกาม จึงเกิดกามธาตุ กามสัญญา กามสังกัปปะ กามฉันทะ กามปริฬาหะ .. เป็นลูกโซ
554 ธรรมมีประเภทละ ๓ อกุศลมูล๓ กุศลมูล๓ ทุจริต๓ สุจริต๓ อกุศลวิตก๓ อกุศลสังกัปปะ๓ กุศลสังกัปปะ๓ อกุศลสัญญา๓....
555 พระพุทธเจ้าพระนามว่า วิปัสสี ทรงท้อพระทัยที่จะแสดงธรรม แต่ท้าวมหาพรหมขอร้อง ไม่เช่นนั้นโลกจะฉิบหาย
556 สมาธิ ๙ ระดับ : ธรรม ๙ อย่างที่ควรรู้ ควรทำให้แจ้งเป็นไฉน (อนุบุพพวิหาร ๙) สมาธิ 9 ระดับ
557 สุขที่ควรกลัว และไม่ควรกลัว สุขที่ควรกลัว คือสุขที่เกิดจาก ตา หู จมูก ลิ้น กาย สุขที่ไม่ควรกลัว คือ สุขสมาธิ เข้าถึง ปฐมฌาน ทุติยฌาน
558 กาม-ผู้ติดเหยื่อโลก ชอบฟังเรื่องกาม ไม่ฟังเรื่องสงบ. ตาหูจมูกลิ้นกาย เป็นสิ่งที่น่าปราถนา..เขาย่อมไม่ฟังเรื่องความสงบ
559 อริยสัจ-ผู้ไม่รู้อริยสัจ ชื่อว่าตกอยู่ในที่มืด-อยู่ในหลุมเพลิง เพราะเขายินดีต่อสิ่งปรุงแต่งที่เป็นไปเพื่อความเกิดที่สร้างขึ้นเอง
560 อริยสัจ-เปรียบเรียนอริยสัจ กับหนู 4 จำพวก หนูขุดรูแต่ไม่อยู่:เรียนปริยัติแต่ไม่รู้อริยสัจ-หนูไม่ขุดรูแต่อยู่:ไม่เรียนปริยัติแต่รู้อริยสัจ
 
561 อริยสัจ หลายนัยยะ เค้าโครงอริยสัจ.. .ปัญจุปาทานขันธ์.. อายตนะ. เรียงลำดับ.. ควรรอบรู้-ควรละ-ควรทำให้เจริญ-ควรทำให้แจ้ง
562 ทรงพยากรณ์เฉพาะเรื่องอริยสัจสี่ . ว่านี้ทุกข์ เหตุเกิดทุกข์ ความดับไม่เหลือ..เรื่องอื่นที่ไม่เป็นไปเพื่อดับทุกข์ ไม่ทรงพยากรณ์
563 อริยสัจสี่-ทรงบันลือสีหนาท ประกาศจตุราริยสัจ(อริยสัจสี่)พระยาสัตว์ชื่อสีหะ ออกจากถ้ำที่อาศัย สัตว์ทั้งหลายก็สะดุ้งกลัว
564 อริยสัจสี- ผลของการรู้ และไม่รู้อริยสัจสี่ เปรียบซัดท่อนไม้ขึ้นสู่อากาศ..และการดับเร่งดับไฟที่ลุกโพรงบนศรีษะ..
565 รู้อริยสัจสี่ ยังดีกว่าถูกแทงด้วยหอกวันละ 300 เล่ม เพราะเหตุว่าสังสารวัฏนี้มีเบื้องต้นและที่สุดอันบุคคลไปตามอยู่รู้ไม่ได้แล้ว
566 อริยสัจสี่ - ที่ทรงแสดงโดยพิสดาร ๑. ทุกขอริยสัจ๒. ทุกขสมุทยอริยสัจ๓. ทุกขนิโรธอริยสัจ๔. ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา
567 การเกิดของเวทนา สุข โสมนัสใดๆ เป็นรสอร่อยของเวทนา... เวทนาไม่เที่ยง มีความแปรปรวน เป็นโทษของเวทนา
568 มาคัณฑิยสูตร ความไม่มีโรคเป็นลาภอย่างยิ่ง โรคตถาคตหมายถึงกามคุณ หมือนคนเป็นโรคเรื่อนหรือคนตาบอดที่ถูกหลอก
569 ขันธ์ 5 ที่บัญญัติกฎแห่งสังขตะ กฎแห่งความบังเกิดขึ้นก็ดี กฎแห่งความเสื่อมไปก็ดี.....ถูกบัญญัติอยู่แก่ธรรมเหล่าไหนเล่า?
570 ขันธ์ 5 ไม่เที่ยง มีความแปรปรวน ...รูป เวทนา สัญญา สังขาร เป็น สมุทยธรรม เป็นวยธรรม และเป็นนิโรธธรรม
 
571 ขันธ์ 5 เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา รูปเป็นทุกข์.. สิ่งใดเป็นทุกข์สิ่งนั้นเป็นอนัตตา.นั่นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ตัวตน
572 ขันธ5 เป็นเครื่องผูกพันสัตว์ ย่อมตามเห็นซึ่งรูป โดยความเป็นตน เห็นตนว่ามีรูป เห็นรูปว่ามีอยู่ในตน เห็นตนว่ามีอยู่ในรูป บ้าง
573 ทุกข์ คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต ไม่มีผู้กระทำไม่มีผู้ถูกกระทำ ไม่มีทั้งตนเองและผู้อื่นกระทำ แต่เป็นกระแสปฏิจจสมุปปันน
574 เวทนา-วิภาคแห่งเวทนา เวทนา 2อย่าง..เวทนา 3อย่าง..เวทนา 5อย่าง..เวทนา 6อย่าง..เวทนา8 อย่าง..เวทนา 36อย่าง..เวทนา108 อย่าง
575 ติงสมัตตาสูตร ภิกษุเมืองปาวา 30 รูป ฟังธรรมแล้วหลุดพ้น.. สมัยเกิดเป็นโคถูกฆ่าตัดคอ โลหิตที่ไหล มากกว่าน้ำในมหาสมุทรทั้ง4
576 เวทนา-อัสสาทะของเวทนา.. มีในทุกสมาธิ ฌาน 1-4 เรากล่าวอัสสาทะของเวทนา ไม่ทำความเดือดร้อนแก่ผู้ใด
577 เวทนา-เป็นทางมาแห่งอนุสัย..เมื่อเวทนาถูกต้องแล้ว อนุสัยคือราคะ คือปฏิฆะ คืออวิชชา ย่อมนอนเนื่องอยู่ในสันดาน
578 ทุกข์ เพราะยึดผิด..เห็นผิดซึ่งรูปโดยความเป็นตน เห็นเวทนาสัญญาสังขารว่าเป็นตน..แต่รูปนั้นย่อมแตกสลายย่อมพินาศ ย่อมทุกข์
579 สุข-ทุกข์ เกิดขึ้น เพราะการมีอยู่ของขันธ์, การประพฤติพรหมจรรย์ ก็เพื่อรอบรู้ทุกข์  ตาเป็นทุกข์ รูปเป็นทุกข์ ...
580 ตัณหา คือความจริงอันประเสริฐ คือเหตุเกิดทุกข์ ความกำหนัดเพราะอำนาจแห่งความเพลิน คือกามตัณหา เปรียบเถาวัลย์
 
581 เวปจิตติสูตรที่ ๔ ชนะความโกรธ ด้วยความอดกลั้น บุคคลผู้ไม่โกรธตอบต่อผู้ที่โกรธ ย่อมชื่อว่าชนะสงครามซึ่งเอาชนะได้ยาก
582 ภาษิตชยสูตรที่ ๕ สงครามวาทะ เทวดา กับอสูร เรื่องการกำจัดคนพาลด้วยความอดกลั้น ใช้ขันติ ทำให้ไม่เกิดการวิวาท
583 สมุททกสูตรที่ ๑๐ ฤาษีไปพบอสูร เพื่อขออภัยทานแต่อสูรไม่ให้บอกให้ได้แต่ภัยเพราะฤาษีคบเทวดา อสูรจึงถูกฤาษีแช่งจนตกใจ
584 ฤาษีมีกลิ่น ท้าวสักกะจอมเทพ และ ท้าวเวปจิตติจอมอสูร เข้าพบฤาษี.. ท้าวสักกะให้เกียรติฤาษี แต่ท้าวเวปจอมอสูรไม่ให้เกียรติ
(พระสูตรนี้เป็นอรรถกถา-เรื่องแต่ง)
585 ภพ-พืชของภพ เหตุเกิด เครื่องจูงไปสู่ความเป็นภพ ฉันทะ ราคะ นันทิ ตัณหาและอุปายะ(กิเลส)นี่เราเรียกว่าเครื่องนำไปสู่ภพ
586 พระมหากัปปินะ (พระอรหันต์) ดำริจะไม่ทำอุโบสถ พระพุทธเจ้ารู้วาระจิต จึงหายตัวมาปรากฎต่อหน้าและให้ไปลงอุโบสถ
587 สวดปาติโมกข์ ในวันอุโบสถ-วิธีทำอุโบสถ 3 อย่าง ภิกษุ ๔ รูป สวดปาติโมกข์ ..๓ รูป ทำปาริสุทธิอุโบสถ (แจ้งความบริสุทธิ์)
588 บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ ที่ควรเสพ และไม่ควรเสพ บุคคลผู้ประกอบด้วยกุศลกรรมบถ ๑๐ ควรเสพ
589 กุศลกรรมบถ10 และ อกุศลกรรมบถ 10 บุคคลผู้ประกอบอกุศลกรรมบถ10 เหมือนผู้ถูกทิ้งไว้ในนรก ถูกนำมาทิ้ง
 
590 ขันธ์ 5 - เบญจขันธ์ หลายแง่หลายมุม ขันธ์5 ควรรอบรู้- การบัญญัติขันธ์5- ขันธ์5 กฎแห่งสังขตะ(บังเกิดขึ้น เสื่อม เปลี่ยนแปลง)
591 มหาเวทัลลสูตร การสนทนาธรรม (บทคัดย่อ) ระหว่าง ท่านพระมหาโกฏฐิกะ กับ ท่านพระสารีบุตร
592 ท้าวสักกะ ปลอมตัวเป็นชาวบ้านเพื่อรอตักบาตรกับ พระมหากัสสป
593 ชิณณสูตร พระศาสดาสอบถาม พระมหากัสสป ถึงประโยชน์ของการอยู่ป่าเป็นวัตร
594 เวปุลลปัพพตสูตร ตรัสถึงความไม่เที่ยง โดยยกเอาพระพุทธเจ้าและภูเขาในอดีต ที่สิ้นไปแล้วมาแสดง เพื่อให้เกิดความเบื่อหน่าย
595 ทาน-ชาณุสโสณีสูตร ผลของทานต่อสัตว์เดรัจฉาน.พิจารณาจากกุศลกรรมบถ10 และอกุศลกรรมบถ10.. ทานไม่ส่งผลไปถึงนรก
596 ทาน-เวลามสูตร ผลของทาน (แบบย่อ) ให้โสดาบัน มีผลมากกว่าให้กับพราหมณ์ ให้สกทาคามี 1 มีผลมากกว่าให้โสดาบัน 100
597 ทาน-ทักขิณาวิภังคสูตร ปาฏิปุคคลิกมี ๑๔ อย่าง การให้ทานให้กับบุคลลต่างๆ
598 ปัญญา เครื่องเจาะแทงกิเลส (นิพเพธิกปัญญา) คือรู้ อริยสัจสี่ บัณฑิตผู้มีปัญญาย่อมแทงตลอดซึ่งเนื้อความแห่งสัจจะนั้น
599 ธาตุสูตร (นิพพานธาตุ 2 ประการ) สอุปาทิเสส กับ อนุปาทิเสส ความแตกต่างของอรหันต์ 2 ประเภท
600 โลภะ โทสะ โมหะ (อกุศลมูล 3) โลภะ เป็นอกุศลมูล... โทสะ เป็นอกุศลมูล... โมหะ เป็นอกุศลมูล
 
   



หนังสือพุทธวจน ออนไลน์
90 90 90 90  
 
พุทธประวัติ ขุมทรัพย์
อริยสัจ
ภาคต้น
อริยสัจ
ภาคปลาย
ปฏิจจ ปฐมธรรม ตถาคต อนาคามี อินทรีย์
สังวร
สัตว์
สัตตานัง
ทาน
สกทาคามี
ฆราวาส
ชั้นเลิศ
มรรควิธี
ที่ง่าย
 
   
อริยวินัย เดรัจฉานวิชา กรรม สมถะ
วิปัสสนา
โสดาบัน อานา
ปานสติ
จิต มโน
วิญญาณ
ก้าวย่าง
อย่างพุทธะ
ตามรอย
ธรรม
ภพ ภูมิ
พุทธวจน
สาธยาย
ธรรม
สังโยชน์