|
|
|
พระสูตรชุดเต็ม ชุด 8 |
|
|
|
|
801 |
เหตุแห่งการเบียดเบียน เพราะความอิจฉาและตระหนี่.. เหตุตระหนี่คือมีสิ่งอันเป็นที่รัก.. สิ่งอันเป็นที่รักมีฉันทะ พอใจเป็นเหตุ |
802 |
วักกลิสูตร ว่าด้วยการเห็นธรรมชื่อว่าเห็นพระพุทธเจ้า อย่าเลย วักกลิ ร่างกายอันเปื่อยเน่าที่เธอเห็นนี้ จะมีประโยชน์อะไร? |
803 |
ธรรมที่ควรกำหนดรู้ -ควรละ-ควรทำให้เจริญ- ควรทำให้แจ้ง คือ/อุปาทานขันธ์ ๕/อวิชชา-ภวตัณหา/สมถะ-วิปัสสนา/วิชชา-วิมุตติ |
804 |
จิต - ทางไปแห่งจิต 36 อย่าง สัตตบท 36 อตัมมยตา การออกไปจากทางเดินแห่งจิต |
805 |
เวทนา 36 คือทางไปแห่งจิตของสัตว์ 36 อย่าง เนื่องด้วยเหย้าเรือน 18 (เคหสิต) หลีกออกจากเหย้าเรือน 18 (เนกขัมม-สิต) |
806 |
เจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ.. เจริญอานาปานสติ เป็นเหตุให้ สติปัฏฐาน ๔ โพชฌงค์ ๗ วิชชา และ วิมุตติบริบูรณ์ |
807 |
การเข้าวิมุตติ (คำบรรยายจากคลิป) มรรควิธีที่จะบรรลุธรรม หรือทางทุกสายจะมาลงที่โพชฌงค์ 7 วิชชา และวิมุตติ ก็จะปรากฏ |
808 |
ทาน (รวมเรื่องทาน) ผลของการให้ทาน ให้ทานแบบอริยะ ทานของคนดี อานิสงส์ |
|
1. การให้ทาน พระพุทธเจ้าทรงเล่าสมัยเป็นพราหมณ์ชื่อ เวลามะ |
|
2.ผลของทานในบุคคลต่าง ๆ (แบบย่อ) |
|
3. อานิสงส์ การให้ทาน |
|
4. ทานของคนดี (นัยที่ ๑) |
|
5. ทาน (การให้) เป็นอย่างไร |
|
6. จาคะ (การบริจาค) เป็นอย่างไร |
|
7. อานิสงส์แห่งการให้ทาน |
|
8. ผู้ให้ของที่พอใจย่อมได้ของทีพ่อใจ |
|
9. การให้ทานเป็นเหตุให้เกิดทรัพย์ |
|
10.ทานของคนไม่ดี หรือทานของคนดี |
|
11. ทานของคนดี (นัยที่ ๑) |
|
12. ทานของคนดี (นัยที่ ๒) |
|
13. ควรให้ทานในที่ใด (นัยที่ ๑) |
|
14. ไม่ควรห้ามผู้อื่นให้ทาน |
|
15. องค์ประกอบของทาน ที่ให้แล้วมีผลมาก (นัยที่ ๑) |
|
16. องค์ ๓ ของผู้รับเป็นอย่างไร คือ |
|
17. องค์ประกอบของทาน ที่ให้แล้วมีผลมาก (นัยที่ ๒) |
|
18. ธรรมทานเลิศกว่าอามิสทาน |
|
19. การให้ทานอันเป็นอริยะ (นัยที่ ๑) |
|
20. การให้ทานอันเป็นอริยะ (นัยที่ ๒) |
|
21. การให้ทานอันเป็นอริยะ (นัยที่ ๓) |
|
22. สิ่งที่ประเสริฐกว่าทาน |
|
23. เจริญเมตตาจิตมีผลมากกว่าให้ทาน |
|
24. การรับที่ไม่เป็นธรรม หรือการรับที่เป็นธรรม |
|
25. การวางจิตเมื่อให้ทาน |
809 |
สัปปุริสธรรม และ อสัปปุริสธรรม สัปปุริสธรรม คือ สัตบุรุษ ทำการปฏิบัติแต่ภายในเท่านั้น ไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น ผู้มีสกุลสูง |
|
หมวด สัมมาวาจา |
810 |
อุทเทศแห่งสัมมาวาจา (เท็จ ส่อเสียด หยาบ เพ้อเจ้อ)และหลักวิธีการพูดที่เป็น อริยะ(ไม่เห็นว่าไม่เห็น) และ อนริยะ (คนพาล) |
811 |
สัมมาวาจาโดยปริยายสองอย่าง แบบโลกิยะ(อาสวะ)เป็นส่วนแห่งบุญ มีอปุทิเป็นวิบาก และโลกุตตระ(ไม่มีอาสวะ) เป็นมรรค๘ |
812 |
สัมมาวาจา วจีกรรม ๓ สถาน ๑ เมื่อจะกระทำ(ไม่พึงกระทำ) ๒ เมื่อกระทำอยู่(เลิกกระทำ) ๓ กระทำแล้ว(พึงสังวระวังครั้งต่อไป) |
813 |
สัมมาวาจา ข้อควรสรรเสริญหรือควรติเตียนของบุคคล 4จำพวก ติแต่ไม่สรรเสริญ สรรเสริญและไม่ติ ไม่ติไม่สรรเสริญ ติและสรรเสริญ |
814 |
สัมมาวาจา ไขความลับสัมมาวาจา4 ละมุสาวาท(พูดเท็จ)ละคำส่อเสียด หยาบ ไม่เสนาะหู เพ้อเจ้อ ไม่มีที่อ้างอิงไม่มีหลักฐาน |
815 |
สัมมาวาจา สุภาษิตวาจา ๕ ประการ 1.ควรแก่กาล 2.คำสัจจ์จริง 3. อ่อนหวาน 4.ประกอบด้วยประโยชน์ ด้วยเมตตาจิต |
816 |
สัมมาวาจา วาจาของ สัตบุรุษ - อสัตบุรุษ และ วาจาสะใภ้ใหม่- สะใภ้เก่า |
817 |
สัมมาวาจา สัมมาวาจาขั้นสูงสุด วาจาใด จริง แท้ ด้วยประโยชน์ พึงใจของผู้อื่น ตถาคตย่อมเป็นผู้รู้จักกาละ เพื่อกล่าววาจานั้น |
818 |
สัมมาวาจา สัมมาวาจาชั้นสูงสุด (ระดับพระพุทธเจ้า) ไม่ทะเลาะวิวาทกับใครๆในโลก พร้อมทั้ง เทวโลก มารโลก พรหมโลก |
819 |
สัมผัปปลาวาท(เพ้อเจ้อ) ระดับพราหมณ์-ฤาษี ที่อ้างว่าทางปฏิบัติของตนไปเป็นสหายพรหมได้ แต่ทุกคนกลับไม่เคยเห็นพรหม |
820 |
วิบากแห่งมิจฉาวาจา ย่อมเป็นไปเพื่อนรก กำเนิดดิรัจฉาน เปรตวิสัย โทษมุสาวาท อย่างเบาของมนุษย์ คือถูกกล่าวตู่ด้วยคำไม่จริง |
|
|
821 |
หลักการใช้จ่ายทรัพย์ เลี้ยงตน- บิดามารดา บุตร ภรรยา - ป้องกันภัย- สงเคราะห์ญาติ สังคม- อุทิศแด่สมณะ |
822 |
อุปาลีสูตร ฆราวาสคับแคบ เธอจงมาประพฤติพรหมจรรย์เถิด ..ข้อปฏิบัติ คือ กุศลกรรมบถ10-จุลศีล- มัชฉิมศีล-ฌาน1-4-อรูปสัญญา |
823 |
อาหุเนยยสูตร (รวม 7 พระสูตร) ภิกษุประกอบด้วยธรรม 6 ,6, 8, 8, 10 ประการ.. บุคคล 9 จำพวก, และบุคคล 10 จำพวก |
824 |
อภิญญา ๖ มีอิทธิวิธี.. ทิพย์โสต..เจโตปริยญาณ(รู้ใจสัตว์)...บุพเพนิวาสา(ระลึกชาติได้) ทิพยจักษุ.. อาสวักขยญาณ |
825 |
กายนคร ที่ปลอดภัย อริยสาวก ประกอบด้วยสัทธรรม ๗ ประการ และเข้าถึง ฌาณทั้งสี่ |
826 |
กึสุกสูตร (กายนคร) : อุปมา เมืองคือกาย.. เมืองมี ๖ ประตู คืออายตนะทั้ง ๖... นายประตูคือสติ... เจ้าเมือง คือวิญญาณ |
827 |
เรื่องอุบาสิกาชื่อสุปัพพา ๙ เรื่อง (พระวินัย)การเสพเมถุนที่ไม่อาบัติปาราชิก แต่อาบัติสังฆาทิเสส ต้องแจ้งแก่ภิกษุและอยู่ปริวาส |
828 |
สังขิตตสูตร อุโบสถ ๘ ประการ วิตถตสูตร ผู้รักษาอุโบสถ 8 จะไปเกิดในชั้นเทวดากามภพชั้น1-6 |
829 |
ภัทเทกรัตตสูตร พระสูตร ๑ ผู้มีราตรีหนึ่งเจริญ บุคคลไม่ควรคำนึงถึงสิ่งที่ล่วงแล้ว ไม่มุ่งหวังสิ่งที่ยังไม่มาถึง
|
830 |
ภัทเทกรัตตสูตร พระสูตร ๒ (ทำนองเดียวกันกับ สูตร ๑) |
831 |
ว่าด้วยสัตว์ผู้มีการทำต่างๆกัน สัตว์ที่ตายจากมนุษย์ จะเกิดในมนุษย์-เทวดามีน้อย แต่ไปเกิดในนรก เดรัจฉาน เปรตวิสัย มากกว่า |
832 |
ธรรมกถึก ภิกษุธรรมกถึก แสดงธรรมเพื่อคลายกำหนัด ดับชรามรณะ หรือ ดับอุปาทาน ตัณหา เวทนา ผัสสะ สฬายตนะ นามรูป.. |
|
เทวดาเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า |
833 |
เทวดา เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า ถามข้อธรรมต่างๆ พระองค์ข้ามโอฆะได้อย่างไร .. เราไม่พักอยู่ ไม่เพียรอยู่ ข้ามโอฆะได้แล้ว |
834 |
เทวดา กล่าวถวายพระคาถาฯ เทวดาเปล่งอุทาน บุคคลควรสมาคมกับพวกสัตบุรุษ ควรทำความสนิทสนม กับพวกสัตบุรุษ |
835 |
เทวดา ชั้นพรหม ฆฏิกรสนทนากับพระผู้มีพระภาค |
836 |
อนุรุทธสูตร เหล่าเทวดาเข้าหาพระอนุรุทธะ... ธรรม ๘ ประการ ในการอยู่ครองเรือน |
837 |
คนธรรพ์ รวมพระสูตรเรื่อง คนธรรพ์ |
838 |
ปัญจราชสูตร...ยอดสุดแห่งความพอใจ นั่นแหละ เป็นยอดใน เบญจกามคุณ |
839 |
สรกานิสูตร เจ้าสรกานิ เสวยน้ำจันท์ แต่หลังตาย ได้ไปเกิดเป็นโสดาบัน |
840 |
สุนทริกสูตรที่ ๔ พระผู้มีพระภาคแสดงธรรมแก่ สุนทริก ภารทวาชพราหมณ์ |
|
|
841 |
ธรรม ๘ อย่างที่มีอุปการะมาก มรรค๘ ควรทำให้เจริญ..โลกธรรม๘..กำหนดรู้.. มิจฉัตตะ๘ ควรละ..ปรารภความเพียร๘ ทำให้แจ้ง |
842 |
โยธาชีวสูตร (ตรัสกับนักรบ) อัสสาโรหสูตร (ตรัสกับทหารม้า)นักรบที่ตั้งจิตไว้ไม่ดีฆ่าข้าศึกด้วยเจตนาฆ่าย่อมไปเกิดในนรก |
843 |
กัปปินสูตร(มหากัปปินะ)ว่าด้วยอานาปานสติสมาธิ ภิกษ ท.เธอเห็นความไหว ความเอนเอียงแห่งกายของภิกษุนั้น หรือหนอ? |
844 |
ฐานะที่ตั้งแห่งอนุสสติ มี ๕ อย่าง การฝึกเพื่อมีสติสัมปชัญญะ สงัดจากกาม สงัดจากอกุศล เข้าปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน |
845 |
เครื่องตัดโวหาร ๘ ประการ : ธรรม ๘ ประการย่อมตัดขาดโวหารในวินัยของพระอริยะ ปาณาติบาต พึงละได้เพราะไม่ฆ่าสัตว์ ... |
846 |
อุปมากาม ๗ ข้อ เปรียบเหมือนสุนัขหิว..เหมือนแร้ง..เหมือนหลุมเพลิง..เหมือนบุรุษฝัน..เหมือนบุรุษยืมทรัพย์.. เหมือนป่าใหญ่ |
847 |
ภูมกสูตร อสิพันธกบุตร ถาม พ. ว่าการสวดอ้อนวอนของพราหมณ์ จะได้ไปสวรรค์หรือไม่ พ.อุปมาเหมือนสวดให้หินที่จมลอยขึ้นมา |
848 |
เทศนาสูตร เหตุใดพระผู้มีพระภาคทรงแสดงธรรมแก่คนบางพวก อุปมาเหมือนการหว่านพืช ทรงเลือกนาดี (ไม่เลือกนาเลว) |
849 |
ปราทิฏฐิสูตรที่ ๕ พรหมตนหนึ่ง คิดว่าสมณะหรือพราหมณ์ไม่อาจมาในพรหมโลกนี้ได้ พ.และสาวก จึงมานั่งบนหัวพรหมให้เห็น |
850 |
วิชชา ๘ (ญาณ ๘) ความรู้ที่ทำให้รู้จักการหลุดพ้น การดับทุกข์ |
|
(๑) วิปัสสนาญาณ (ญาณที่เกิดจากวิปัสสนา เช่นเห็นการเกิดดับ) |
|
(๒) มโนมยิทธิญาณ (ฤทธิ์ทางใจ) |
|
(๓) อิทธิวิธญาณ (มีฤทธิ์ เช่นเดินบนน้ำ) |
|
(๔) ทิพยโสตญาณ (หูทิพย์ ได้ยินเสียงมนุษย์และเทวดา) |
|
(๕) เจโตปริยญาณ (รู้ใจคนอื่น รู้ความคิด) |
|
(๖) ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ (ระลึกชาติในอดีตได้หลายชาติ) |
|
(๗) จุตูปปาตญาณ (ตาทิพย์ รู้เหตุการเกิด การตายของสัตว์) |
|
(๘) อาสวักขยญาณ (ญาณที่ทำให้จิตหลุดพ้น) |
|
|
851 |
พระเจ้ามฆเทวะ(พระพุทธเจ้าในอดีต) มนุษย์ชุมชนวิเทหะ อายุ 336,000 ปี เป็นกุมาร,อุปราช,เสวยสมบัติ,ผนวช ช่วงละ 84,000ปี |
852 |
ยสกุลบุตร สำเร็จพระอรหัตต ทรงประกาศอริยสัจสี่แก่ยสกุล มารดา-ภรรยาเก่า-สหาย-คฤหัสถ์ มีพระอรหันต์เกิดขึ้น๗ ๑๑ ๖๑ องค์ |
853 |
บ่วง - มาร..พวกเธอพ้นแล้วจากบ่วง จงเที่ยวจาริกไปเพื่อประโยชน์.. มารถูกเรากำจัดแล้ว เราปราศจากความพอใจใน รูป เสียง กลิ่น |
854 |
ตรัสรู้สัจธรรม .. ทรงขวนขวายน้อย ธรรมนี้ลึกเห็นได้ยาก.. พรหมขอร้องให้แสดงธรรมแก่สัตว์.. อุปมาเหล่าสัตว์เหมือนบัว 3 เหล่า |
855 |
ทรงรำพึงถึงปฐมเทศนา..หลังตรัสรู้ทรงตั้งใจแสดงธรรมแก่ อาฬารดาสบส และอุทกดาบส แต่ตายแล้ว จึงเสด็จไปพบปัญจวัคคีย์ |
856 |
วชิรสูตร บุคคล 3 จำพวก 1. บุคคลมีจิตเหมือนแผลเก่า 2. มีจิตเหมือนฟ้าแลบ 3. มีจิตเหมือนเพชร |
857 |
ญาณ ๓ วิชชา ๓, อภิญญา ๖, วิชชา ๘ ... 1. ปุพเพนิวาสา 2. จุตูปปาตญาณ 3. อาสวักขยญาณ |
858 |
ธรรม เป็นเครื่องทำความเคารพ ..ทรงสรรเสริญคุณในความเป็นผู้มีอาหารน้อย ..สันโดษด้วยจีวรตามมีตามได้ ทรงเป็นผู้สงัด |
859 |
รัตนะ ๗ ประการ ของผู้เป็นจักรพรรดิ์ (พระเจ้ามหาสุทัสสนะ) จักรแก้ว ช้างแก้ว ม้าแก้ว มณีแก้ว นางแก้ว ขุนคลังแก้ว ขุนพลแก้ว |
860 |
อนัตตลักขณสูตร ยถาภูตญาณทัสสนะ (แสดงแก่ปัญจวัคคีย์) รูป เวทนา สัญญา ..เป็นอนัตตา/รูปเที่ยงหรือไม่เที่ยง ไม่เที่ยง |
|
|
861 |
อาการเกิดแห่ง "กุศลวิตก" หรือ สัมมาสังกัปปะ เนกขัมมวิตก อัพ๎ยาปาทวิตก อวิหิงสาวิตก |
862 |
การกำจัด "อกุศลวิตก" ภิกษุผู้ประกอบฝึกฝนเพื่อบรรลุอธิจิต พึงกระทำในใจ ถึง นิมิต ๕ ประการ |
863 |
การเห็นกาย และ เวทนาของผู้หลุดพ้น กายนี้ควรเห็นความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เวทนาก็ เป็นของไม่เที่ยง |
864 |
เอตทัคคบาลี เอตทัคคะ ผู้ยอดเยี่ยมทางใดทางหนึ่งเป็นพิเศษ 74 ท่าน ที่ประทานแต่งตั้งให้คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา |
865 |
รวมพระสูตร ราคะ โทสะ โมหะ |
|
865_1 ทุพพิโนทยสูตร ธรรม ๕ ประการนี้ เกิดขึ้นแล้วบรรเทาได้ยาก ๑ ราคะ๒ โทสะ๓ โมหะ ๔ ปฏิภาณ ๕ จิตคิดไปเอง |
|
865-2 ไฟ ๗ อย่างเหล่านี้มีอยู่ ไฟคือราคะ ไฟคือโทสะ ไฟคือโมหะ คืออาหุไนยะ คือคหบดี คือทักขิไณยะ ไฟที่เกิดจากไม้ |
|
865-3 จัณฑสูตร บางคนยังละราคะไม่ได้ ผู้ยังละราคะไม่ได้ คนอื่นจึงยั่วให้โกรธ ย่อมแสดงความโกรธ ผู้นั้นจึงนับว่าเป็นคนดุ |
|
865-4 ตาลปุตตสูตร คามิณิ ถามอาชีพนักเต้นรำ ทำให้คนหัวเราะ ด้วยคำจริงบ้างเท็จบ้าง เมื่อตายไป เข้าถึงสหายเทวดาหรือ |
|
865-5 ติตถิยสูตร ถ้าพวกเดียรถีย์ปริพาชกจะถามว่า ผู้มีอายุทั้งหลาย ธรรม ๓ อย่างนี้ ๓ อย่างเป็นไฉน คือ ราคะ โทสะ โมหะ |
|
865-6 ธรรม ๓ อย่าง เพื่อละราคะ โทสะ โมหะ เจริญอสุภะ เพื่อละราคะ เจริญเมตตา เพื่อละโทสะ เจริญปัญญา เพื่อละโมหะ |
|
865-7 เห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเป็นของน่าเบื่อหน่าย เพื่อละ ราคะ โทสะ โมหะ |
|
865-8 ทุกแง่มุมที่เกี่ยวกับ อกุศลมูล อกุศลมูล ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่ โลภะ โทสะ เป็น โมหะ เป็น อกุศลมูล |
866 |
บุคคล ๗ จำพวก ๗ จำพวกเป็นไฉน อุภโตภาควิมุตบุคคล ปัญญาวิมุต กายสักขี ทิฏปัตต สัทธาวิมุต ธัมมานุสารี สัทธานุสารี |
867 |
การแผ่เมตตา (พรหมวิหาร ๔) ตรัสกับชีวก เธอมีใจประกอบด้วยเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา แผ่ไป ตลอดทิศทั้ง ๔ |
868 |
ทำบุญได้บาปด้วยเหตุ ๕ ประการ (ตรัสกับหมอชีวก) ผู้ใดฆ่าสัตว์เจาะจงตถาคต หรือสาวกตถาคต ผู้นั้นย่อมประสพบาป |
869 |
จักกวัตติสูตร พระจักรพรรดิ์ ทัลหเนมิ ผู้ทรงธรรม มีมหาสมุทรทั้ง 4 เป็นขอบเขต ครอบครอง จักรแก้วอันเป็นทิพย์ |
870 |
อายุมนุษย์ค่อยๆลดลง จาก 80,000 - 10 ปี และ จาก 10 ปี ขึ้นไปถึง 80,000 ปี เมตไตรย์ จักเสด็จ อุบัติขึ้นในโลก |
|
|
871 |
โยคสูตร (กิเลส) 1. กามโยคะ 2. ภวโยคะ 3. ทิฏฐิโยคะ 4. อวิชชาโยคะ |
872 |
กามสัญโญชน์ (เครื่องรอยรัดในกาม) บทอันประเสริฐ สงบ ไม่มีบทอื่นกว่านี้นั้น คือรู้เหตุเกิด-ดับ-คุณ-โทษ-อุบาย แห่งผัสสะทั้ง ๖ |
873 |
ปฏิจจสมุปบาท ชุด 1 .. รวม 24 พระสูตร |
874 |
ปฏิจจสมุปบาท ชุด 2 .. รวม 17 พระสูตร |
875 |
ปฏิจจสมุปบาท ชุด 3 .. รวม 13 พระสูตร |
876 |
ปฏิจจสมุปบาท ชุด 4 .. รวม 16 พระสูตร |
877 |
ปฏิจจสมุปบาท ชุด 5 .. รวม 18 พระสูตร |
879 |
จูฬเวทัลลสูตร การสนทนาธรรมระหว่าง ธรรมทินนาภิกษุณีกับวิสาขา-อุบาสก ที่ พ.ตรัสชมว่า ธรรมทินนาเป็นบัณฑิตมีปัญญามาก |
880 |
ลักษณะและวิบาก แห่งสัมมากัมมันตะ อริยสาวกเว้นขาดจากปาณาติบาตแล้ว ย่อมชื่อว่า
ให้อภัยทาน อเวรทาน อัพยาปัชฌทาน |
|
|
881 |
จูฬอัสสปุรสูตร ว่าด้วยข้อปฏิบัติอันดียิ่งของสมณะ ภิกษุมีอภิชฌามาก แต่ยังละไม่ได้...มีจิตพยาบาท ยังละเราจึงไม่กล่าวว่า สมณะ |
882 |
สาเลยยกสูตร เหตุปัจจัยที่ทำให้สัตว์ทั้งหลายเข้าถึงเทวดา หรือนรก.. ความประพฤติกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม สุจริต/ทุจริต |
883 |
อุปกิเลส ๑๖ : ธรรม อันเป็นเครื่องเศร้าหมองของจิต |
884 |
มหาสมัยสูตร พระสูตร ชุมนุมเทวดา เทวดาจากโลกธาตุทั้ง 10 เข้าเฝ้า เพื่อทัสนาพระพุทธเจ้า และสาวก |
885 |
ปัพพโตปมสูตร : สิ่งที่ควรกระทำเมื่อมหาภัยทำให้มนุษย์พินาศ คือการประพฤติธรรม อย่างสม่ำเสมอ การบุญ สร้างกุศล |
886 |
ปาฏิกสูตร ตรัสกับภวคะ ถึงทิฐิของสมณะพราหมณ์บางพวก ที่บัญญัติว่า พระพรหม พระอีศวรเป็นผู้สร้างโลก เป็นผู้ยั่งยืน |
|
|
887 |
รวม 12 พระสูตร : รูปไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา นั้นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่ใช่เป็นเรา ไม่ใช่ตัวตนของเรา |
888 |
อลคัททูปมสูตร (1) ว่าด้วยข้ออุปมาด้วยอสรพิษ.. อริฏฐภิกษ กล่าวตู่พระพุทธเจ้าว่า ธรรมที่พระองค์ตรัสสอนเป็นอันตราย |
889 |
อลคัททูปมสูตร (2) อริฏฐภิกษุค้านพระธรรมเทศนา ภิกษุเหล่านั้น เข้าไปเฝ้าฯเพื่อกราบทูลว่า อริฏฐภิกษุ ค้านพระธรรม |
890 |
อลคัททูปมสูตร (3) ทรงติเตียนอริฏฐภิกษุ ...เธอจะประสพบาปมิใช่บุญเป็นอันมาก ด้วยทิฏฐิลามก กรรมนั้นแลจักมีแก่เธอ |
891 |
อลคัททูปมสูตร (4) บุรุษเปล่าเรียนธรรม บุรุษเปล่าเหล่านั้น เล่าเรียนธรรมแล้ว ไม่ไตร่ตรองเนื้อความแห่งธรรมด้วยปัญญา |
892 |
อลคัททูปมสูตร (5) กุลบุตรเรียนธรรม กุลบุตร เล่าเรียนธรรม ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์ เพื่อความสุข สิ้นกาลนาน |
893 |
อลคัททูปมสูตร (6) ธรรมเปรียบเหมือนแพ เราแสดงธรรมมีอุปมาด้วยแพ เพื่อต้องการสลัดออก ไม่ใช่เพื่อต้องการยึดถือ |
894 |
อลคัททูปมสูตร (7) เหตุแห่งทิฏฐิ ๖ ผู้ไม่ได้สดับ ไม่เห็นพระอริยะ.. ย่อมเห็นรูปว่า นั่นของเรา เราเป็นนั่น นั่นเป็นอัตตาของเรา |
895 |
อลคัททูปมสูตร (8) ความสะดุ้ง ๒ เมื่อความพินาศแห่งบริขาร(ของใช้ภิกษุ)ในภายนอก ไม่มีความสะดุ้งพึงมีได้ หรือหนอ |
896 |
อลคัททูปมสูตร (9) พาลธรรม เธอพึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ... นั่นไม่ใช่ของเรา เราไม่เป็นนั่น นั่นไม่ใช่อัตตาของเรา |
897 |
อลคัททูปมสูตร (10) สมัญญาผู้หมดกิเลส พระอริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่ายทั้งในรูป เวทนา สัญญา .. |
898 |
อลคัททูปมสูตร (11) การวางใจเป็นกลางในลาภสักการะ สิ่งใดไม่ใช่ของเธอ เธอจงละสิ่งนั้นเสีย รูป เวทนา.. ไม่ใช่ของเธอ |
899 |
อลคัททูปมสูตร (12) ผลแห่งการละกิเลส เป็นอรหันต์ เป็นอนาคามี เป็นสกทา โสดาบัน เป็นสัทธา- ธัมมา เป็นเทวดา |
900 |
อุปมากาม ๗ ข้อ อุปมาด้วยท่อนกระดูก ด้วยชิ้นเนื้อ คบหญ้าแห้ง หลุมถ่านเพลิง ของในความฝัน ด้วยของยืม อุปมาด้วยผลไม้ |
|
|
|
|
|