เว็บไซต์ อนาคามี เผยแพร่คำพระศาสดา เผยแพร่คำสอนตถาคต เว็บไซต์เผยแพร่พระสุตรคำสอนของพระพุทธเจ้า คลิปคำสอน คลิปสาธยายธรรม
  พระสูตร : สุตตะ(คำสอนพระศาสดา)
ค้นหาคำที่ต้องการ    

 
   
   

 
  พระสูตรชุดเต็ม ชุด 12    
 
  ว่าด้วย มัคคอริยสัจ ความจริงอันประเสริฐคือมรรค อริยสัจจากพระโอษฐ์ ๒ ภาค ๔  หน้าที่ ๑๓๓๑ - ๑๓๖๗  
1201 (๑) สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ (โลกุตตรสมาธิ) ไม่มีปฐวีสัญญา ไม่มีอาโปสัญญา ไม่มีเตโชสัญญา ไม่มีวาโย  
1202 (๒) สมาธิที่เป็นอสังขตมนสิการ การเจริญสมาธิที่มีนิพพานเป็นอารมณ์  
1203 (๓) จากรูปฌานไปสู่อาสวักขยญาณโดยตรง ละอภิชฌา พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจ วิจิกิจฉา  
1204 (๔) ประโยชน์ของการเจริญสมาธิ ธรรมย่อมปรากฏตามที่เป็นจริงว่าจักษุ รูปทั้งหลาย จักขุวิญญาณ จักขุสัมผัส เวทนา เป็นอนิจจัง  
1205 (๕) อานุภาพแห่งสมาธิ ความเพียรกระทำให้รู้ว่า นี้ทุกข์ นี้เหตุให้เกิดทุกข์ นี้ความดับไม่เหลือ นี้ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือ  
1206 (๖) อานิสงส์ของการหลีกเร้น เธอทั้งหลายจงเป็นผู้มีความหลีกเร้น เป็นที่มายินดี ยินดีแล้วในความหลีกเร้น  
1207 (๗) แม้เพียงปฐมฌาน ก็ชื่อว่าเป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร ภิกษุสงัดจากกาม จากอกุศลธรรม เข้าถึงปฐมฌาน อันมีวิตกมีวิจาร  
1208 (๘) แม้เพียงปฐมฌาน ก็บำบัดกิเลสอันเป็นเครื่องระคายใจได เธอนั้นไปแล้วสู่ป่าสู่โคนไม้สู่เรือนว่างก็ตาม นั่งคู้ขาเข้ามาโดยรอบ  
1209 (๙) เจโตสมาธิที่สามารถเพิ่มผาสุกทางกาย สมัยใด ตถาคต เข้าถึงเจโตสมาธิอันไม่มีนิมิต เพราะไม่กระทำ ในใจซึ่งนิมิตทั้งปวง  
1210 (๑๐) ที่นั่ง - นอน - ยืน - เดิน อันเป็นทิพย์ .. ถ้าเดินอยู่ นั่งอยู่ นอนอยู่ ในสมัยนั้น สถานที่ตรงนั้น ก็ชื่อว่า สถานที่อันเป็นทิพย์  
1211 (๑๑) ธรรมที่ทำความเป็นผู้มีอำนาจเหนือจิต ๗ ประการ ฉลาดในสมาธิ.. เข้าสู่สมาธิ...ดำรงอยู่ในสมาธิ... ออกจากสมาธิ  
1212 (๑๒) ฌานระงับความรัก-เกลียด ตามธรรมชาติ ๔ ประการ รักเกิดจากรัก เกลียดเกิดรัก รักเกิดจากเกลียด เกลียดเกิดจากเกลียด  
1213 (๑๓) ตถาคตพลญาณ มีได้เฉพาะแก่ผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ ๖ ประการ ยถาภูตญาณ ในสิ่งซึ่งเป็นฐานะ ในสิ่งซึ่งเป็นวิบาก  
1214 (๑๔) การรักษาโรคด้วยสมาธิ ด้วยสัญญา ๑๐ ประการ อนิจจสัญญา อนัตต อสุภ อาทีนว ปหาน วิราค นิโรธ สัพพโล สัพพ อานา  
1215 (๑๕) นิวรณ์ - ข้าศึกแห่งสมาธิ มีชื่อว่าเครื่องปิด บ้าง เครื่องกั้น บ้าง เครื่องคลุม บ้าง เครื่องร้อยรัด บ้าง  
1216 (๑๖) นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง กามฉันทะ.... ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง..  
1217 (๑๗) จิตตระหนี่ เป็นสิ่งที่ต่ำเกินไปเพื่อบรรลุฌาน และทำให้แจ้งมรรคผล ได้แก่ตระหนี่อาวาส ตระหนี่ตระกูล ตระหนี่ลาภ  
1218 (๑๘) สนิมจิต เทียบสนิมทอง สนิมจิตห้าประการคือ เครื่องเศร้าหมอง กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ วิจิกิจฉา
 
1219 (๑๙) เสี้ยนหนาม ๑๐ อย่าง .. มาตุคาม เป็นเสี้ยนหนามแก่พรหมจรรย์ เสียงเป็นเสี้ยนหนามแก่ปฐมฌาน วิตกวิจาร..  
1220 (๒๐) การอยู่ป่ากับการเจริญสมาธิ เสนาสนะอันสงัด คือป่าหรือป่าเปลี่ยวอยู่ได้ยาก ปวิเวกทำได้ยาก ความอยู่คนเดียวได้ยาก  
1221 (๒๑) ลำดับพฤติจิตของผู้ไม่ประมาท เมื่อบุคคลสำรวม จักขุนทรีย์ อยู่ จิตย่อมไม่เกลือกกลั้ว ในรูปทั้งหลาย ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ  
1222 (๒๒) สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่..ปฐมฌาน. ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน  
1223 (๒๓) เจโตวิมุตติ ชนิดที่ยังมีอุปสรรค ภิกษุเข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ แล้วแลอยู่ อาศัยเจโตวิมุตตินั้น กระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ  
 
 
1224

ผู้ประพฤติธรรมสมควรแก่ธรรม คือข้อที่ภิกษุเบื่อหน่ายในรูป เวทนาสัญญาสังขารวิญญาณ เห็นว่าขันธ์๕ไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตา

 
1225 อานิสงส์ ๔ ประการ จากการฟังธรรมเนืองๆ จนคล่องปาก หลังทำกาละ จะระลึกบทแห่งธรรมได้เอง .. ภิกษุผู้มีฤทธิ์ขึ้นมาสอน  
1226 บุคคล ๔ จำพวก สสังขารปรินิพพายี อสังขารปรินิพพายี นิพพานปัจจุบัน-หลังกายแตก  
     
1227 ปฏิปทา ๔ ประการ (นัยยะที่ ๑) ราคะกล้า โทษะกล้า โมหะกล้า  
1228 ปฏิปทา ๔ ประการ (นัยยะที่ ๒) พิจารณาเห็นในกายว่าไม่งาม  
1229 ปฏิปทา ๔ ประการ (นัยยะที่ ๓) บุคคลบางคนในโลกนี้ เขาด่า ย่อมด่าตอบ เขาขึ้งโกรธ ย่อมขึ้งโกรธตอบ  
1230 ปฏิปทา ๔ ประการ (นัยยะที่ ๔) ผู้ไม่อดทนต่อหนาว ร้อน หิว ระหาย ต่อสัมผัสแห่งเหลือบ ยุง ลมแดด  
1231 ปฏิปทา ๔ ประการ พระโมคใช้วิธีทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญา(ปฏิบัติลำบากแต่รู้เร็ว) พระสารีบุตร สุขาปฏิปทา(ปฏิบัติสะดวกรู้ได้เร็ว)  
     
  ๖. อุปาลิวาทสูตร เรื่องทีฆตปัสสีนิครนถ์ (เรื่องนิครนถ์ โต้วาทะเรื่องกรรมทางกาย)  
1232 กรรม ๓ ของนิครนถ์นาฏบุตร (ลัทธินิครนถ์บัญญัติว่ากรรมทางกาย หรือ กายทัณฑะ มีโทษมากกว่า วจีกรรมและมโนกรรม)  
1233 พระผู้มีพระภาคทรงย้อนถามปัญหากรรม ๓ (กายทัณฑะ วจีทัณฑะ มโนทัณฑะ ) ทรงยกอุปมาขึ้นมาแสดง 6 นัยยะ  
1234 อุบาลีคฤบดีแสดงตนเป็นอุบาสก อุบาลีแสดงตนเป็นอุบาสก (ถึง 3 ครั้ง) ข้าพระพุทธเจ้านี้ขอถึงพระผู้มีพระภาค พระธรรม พระสงฆ์  
1235 ทรงแสดงอนุบุพพิกถา 1.ทานกถา- ศีลกถา- สัคคกถา 2.โทษของกาม-เนกขัมมะ 3. อริยสัจสี่ 4.กฎอิทัปปัจยตา  
1236 ห้ามพวกเดียรถีย์เข้าบ้าน... เพราะอุบาลีคฤหบดี เป็นสมณะของพระสมณะโคดมแล้ว  
1237 อุบาลีคฤหบดี ประกาศตนเป็นสาวกของสมณะโคดม หลังนิครน์ไดคำประกาศ้ฟังแล้ว เลือดก็ได้พุ่งออกจากปากนิครนถ์  
1238 การทำกรรมทางใจ มีโทษมากที่สุด ตรัสกับ ทีฆตปัสสีนิครนถ์  
     
1239 พระผู้มีพระภาคทรงให้ พระสาคตะ อุปัฏฐากของพระองค์ แสดงอิทธิปาฏิหาริย์  
1240 รวม 26 พระสูตร อนุปุพพิกถา (เทศนาเป็นลำดับ ฟอกอัธยาศัยของสัตว์ให้หมดจดเป็นชั้นๆ)อนุปุพพิกถา อ่านว่า อนุ-ปุพ-พิ-กถา  
1241 จูฬนิกาสูตร ว่าด้วยโลกธาตุขนาดเล็ก ที่ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ส่องถึง มีดวงจันทร์ ๑,๐๐๐ ดวง มีดวงอาทิตย์ ๑,๐๐๐ ดวง...  
1242

ทรงมีปาฏิหาริย์ชนิดที่ คนเขลามองไม่เห็นว่าเป็นปาฏิหาริย์ ตรัสกับ สุนักขัตตะ 

 
1243 พันธนสูตร ว่าด้วยเครื่องจองจำคือขันธ์ ๕ ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ ไม่เห็นพระอริยเจ้า ย่อมตามเห็นรูป โดยความเป็นตน  
1244 ของอัศจรรย์ ๔ อย่างที่ไม่เคยมี จากการบังเกิดของตถาคต 1.ประชาชนพอใจในกามคุณ ครั้นตถาคตแสดง ก็ฟัง เงี่ยหูฟัง  
1245 บุรพกรรม การได้มหาปุริสลักขณะ (๓๒ ประการ) ของตถาคต เป็นผู้บากบั่นในกุศล นำสุขมาให้แก่มหาชน เว้นจากปาณาติบาต  
1246 ความรู้สึกที่ถึงกับทำให้ออกผนวช..ทำไมหนอเรามีความเกิด ความแก่ ความเจ็บ ความตาย เป็นธรรมดาอยู่แล้ว จึงต้องแสวงหาอีก  
1247 ความหวั่นไหวเป็นโรคเป็นฝีเป็นลูกศร..เมื่อไม่หวั่นไหวย่อมไม่ถือมั่น เมื่อไม่ถือมั่นย่อมไม่สะดุ้ง ย่อมดับเฉพาะตน รู้ว่าชาติสิ้นแล้ว  
1248 ที่สุดของโลกคือการดับแห่งอายตนะทั้ง ๖ เรามิได้กล่าวว่าที่สุด ของโลกอัน บุคคลพึงรู้ พึงเห็น พึงถึงด้วยการไป  
1249

เหตุปัจจัยอะไรหนอ ที่เป็นเครื่องให้สัตว์บางพวกในโลกนี้ ไม่ปรินิพพานในปัจจุบัน รวม 8 พระสูตร

 
1250 ราหูลสุตร...พวกเทวดาหลายพัน ติดตาม พ.ด้วยคิดว่า พระองค์จักทรงแนะนำท่านพระราหุลในธรรมเป็นที่สิ้นอาสวะอันยิ่งขึ้นไป  
1251 อะไรหนอเป็นคุณ..เป็นโทษ..เป็นอุบายเครื่องออก..สุขโสมนัสเป็นคุณ..โลกไม่เที่ยงเป็นโทษ.. ละฉันทราคะเป็นอุบายเครื่องออก  
1252 กูฏสูตร เมื่อกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ไม่รักษา การตายก็ไม่ดี การทำกาละ ก็ไม่งาม เปรียบเหมือนเรือนที่ไม่รักษาก็ผุพัง  
1253

โลภะ โทสะ โมหะ คือเหตุให้เกิดกรรม (นิทานสูตร) เป็นกรรมที่เป็นอกุศล มีโทษ เป็นทุกข์ เป็นกรรมเพื่อเกิดกรรมต่อไป

 
1254

กรรม ๓ อย่าง ความพอใจย่อมเกิด เพราะปรารภธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่ง ฉันทราคะ ในอดีต  ในอนาคต ในปัจจุบัน

 
1255 ภัณฑนสูตร (ภิกษุทะเลาะกัน)สาเหตจากกุศลวิตก๓ เนกขัมมวิตก อัพยาปาทวิตก อวิหิงสาวิตก/ไม่ทะเลาะกันด้วยเหตุอกุศลวิตก๓  
1256 1) สัมปทา ๓ อย่าง เป็นไฉน คือศีลสัมปทา จิตตสัมปทา ทิฏฐิสัมปทา
2) สัมปทา ๓ อย่าง เป็นไฉน คือ กัมมันตสัมปทา อาชีวสัมปทา ทิฏฐิสัมปทา
3) ความสะอาด ๓ อย่าง เป็นไฉน คือ กายโสเจยยความ สะอาดกาย วจีโสเจยยความสะอาดวาจา มโนโสเจยยความสะอาดใจ
4) ความสะอาดทางใจ (มโนโสเจยย) กามฉันทะมีในภายในก็รู้ว่ากามฉันทะของเรามีในภายใน หรือกามฉันทะ ไม่มี ในภายในก็รู้ว่า
 
1257 กุสินารสูตร ภิกษุผู้ประมาทเพราะการบิณฑบาต กำหนัดหมกมุ่นในกามวิตก พยาบาทวิตก วิหิงสาวิตก เรากล่าวว่าไม่มีผลมาก  
1258 ภัณฑนสูตร (ภิกษุทะเลาะกัน)ธรรมที่ต้องละ กามวิตก พยาปาทวิตก วิหิงสาวิตก. ธรรมที่ต้องทำให้มาก เนกขัมม อัพยาปาท อวิหิง  
1259

ภรัณฑุสูตร ศาสดา ๓ จำพวกนี้ มีปรากฏอยู่ในโลก บัญญัติการกำหนดรู้กาม ไม่บัญญัติการกำหนดรู้รูป ไม่บัญญัติการกำหนดรู้เวทนา

 
1260 หัตถกสูตร (เทวดาเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาค) ทูลว่าธรรมมะที่มีในสมัยที่ยังเป็นมนุษย์ครั้งก่อนนั้น บัดนี้(ในภพเทวดา)ก็เป็นไปอยู่  
1261

อนุรุทธสูตรที่ ๒ อนุรุทธถามพระสารีบุตร ว่าความเพียรไม่ย่อหนย่อน แต่ทำไมจิตจึงยังไม่หลุดพ้น พระสารีบุตรให้ละธรรม 3 อย่าง

 
1262 ผู้เป็นมิจฉาทิฐิ มื่อเกิดขึ้นในโลกย่อมไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล ไม่เป็นความสุข แต่เป็นไปเพื่อความฉิบหายแก่เทวดา และมนุษย์  
1263 น้อยกว่า มากกว่า..สัตว์เกิดบนบกมีน้อย เกิดในน้ำมากกว่าโดยแท้ สัตว์เห็นพระตถาคตมีน้อย สัตว์ไม่เห็นพระตถาคตมากกว่า  
1264

จักกวัตติสูตร พระเจ้าจักรพรรดิผู้ทรงธรรม เป็นธรรมราชา ทรงอาศัยธรรม สักการะธรรม เคารพธรรม… ตถาคตก็ฉันนั้นเหมือนกัน

 
1265

มหาโจรสูตร มหาโจรในโลกนี้... ย่อมอาศัยที่อันขรุขระ ย่อมอาศัยป่าชัฏ ย่อมอาศัยบุคคลผู้มีกำลัง ภิกษุผู้ลามกก็ฉันนั้นเหมือนกัน

 
1266 สรภสูตร ปริพาชก สรภะ พูดในบริษัท ณ กรุงราชคฤห์ ว่า ธรรมของพระตถาคต เรารู้ทั่วถึงแล้ว เราจึงได้หลีกมาเสีย  
1267 าฬหสูตร ธรรมเหล่าใดเป็น อกุศล มีโทษ ท่านผู้รู้ติเตียน ใครสมาทานแล้ว ย่อมไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล ควรละธรรมเหล่านั้นเสีย  
1268 ฉันนสูตร ฉันนปริพาชก เข้าหาพระอานนท์ ถามเรื่องการละราคะ โทสะ โมหะ ...ปฏิปทาเพื่อละราคะ โทสะ โมหะ คือมรรค๘  
1269 อาชีวกสูตร..อาชีวก ถาม พระอานนท์ คนพวกไหนกล่าวธรรมดีแล้ว พวกไหนเป็นผู้ปฏิบัติธรรมดีแล้ว พวกไหนดำเนินไปดีแล้ว  
1270 สักกสูตร ปัญหาของ เจ้ามหานามศากยะ สมาธิเกิดก่อน ญาณเกิดทีหลัง หรือว่าญาณเกิดก่อน สมาธิเกิดทีหลัง  
1271 สีลัพพตสูตร พ.ตรัสชมอานนท์ เมื่อบุคคลเสพศีลพรตชีวิตพรหมจรรย์ซึ่งมีการบำรุงดี อกุศลธรรมเจริญมากยิ่งขึ้น กุศลธรรมเสื่อมไป  
1272 วิวิตตสูตร ความสงัด จากกิเลส ๓ อย่าง ในแบบของเดียร์ถีย์ปริพาชก และแบบของภิกษุในธรรมวินัย  
1273 สังฆสูตร (อุปมาการทำทองให้บริสุทธิ์ กับการขัดเกลากิเลสจนสิ้นอาสวะ)  
1274 ปุพพสูตร เมื่อก่อนตรัสรู้ เราเป็นพระโพธิสัตว์ อะไรเป็นคุณ - เป็นโทษ- เป็นอุบายเครื่องออกไป  
1275 อัสสาทสูตร (คุณ-โทษ-อุบายเครื่องออก) ถ้าคุณในโลกไม่มี สัตว์ ท.ก็ไม่พึงกำหนัด แต่เพราะคุณมีอยู่ สัตว์ ท.จึงกำหนัด  
1276 นิทานสูตรที่ ๑ กรรมที่มีโทษเป็นอกุศล เป็นทุกข์ คือ โลภะ โทสะโมหะ..กรรมที่ไม่มีโทษเป็นไปเพื่อความดับกรรมคือ อโลภะ..  
1277 นิทานสูตรที่ ๒ ธรรมชาติที่ทำให้เกิดกรรม ๓ อย่าง: ความพอใจจากปรารภธรรม แห่งฉันทราคะในอดีต อนาคต ในปัจจุบัน  
1278 อเนญชสูตร บุคคล ๓ จำพวก บรรลุอากาสานัญจายตน บรรลุวิญญาณัญจายตน บรรลุอากิญจัญญายตน  
1279 อยสูตร วิบัติ ๓ อย่าง ศีลวิบัติ (เช่นลักทรัพย์) จิตตวิบัติ (โลภ พยาบาท) ทิฐิวิบัติ (มีมิจฉาทิฐิ).. สัมปทา ๓ อย่าง (ตรงกันข้าม)  
1280

โยธสูตร ผู้มีธรรม ๓ ประการ คือ 1.ยิงศรได้ไกล (พิจารณาขันธ์๕) 2.ยิงไม่พลาด(รู้อริยสัจสี่) 3.ทำลายกายขนาดใหญ่ (อวิชชา)

 
1281 ลิงติดตัง มักกฏสูตร อารมณ์อันมิใช่โคจรของลิงโง่ ไม่มีความระวังในการท่องไป ในถิ่นที่ไม่เคยไป อุปมาเหมือนไม่ระวังขันธ์๕  
1282

สันติวรบท ทางสู่ความสงบอันประเสริฐ คือทำความรู้แจ้งในอายตนะ ๖ รู้เหตุเกิด - เหตุดับ รู้คุณ-รู้โทษ และอุบายเครื่องออก

 
     
1283 การสังคายนาพุทธศาสนาครั้งที่ 1 มีพระมหากัสสป เป็นพระธาน (ข้อมูลชุด1/3)  
1284 การสังคายนาพุทธศาสนาครั้งที่ 1 มีพระมหากัสสป เป็นพระธาน (ข้อมูลชุด2/3)  
1285 การสังคายนาพุทธศาสนาครั้งที่ 1 มีพระมหากัสสป เป็นพระธาน (ข้อมูลชุด3/3)  
     
1286 มารผู้มีบาป แปลงเป็นชาวน แบกไถ ถือปะฏัก เข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาค แต่ไม่เห็นพระพุทธเจ้า กัสสกสูตรที่ ๙  
1287 พระพุทธเจ้าทรงพระประชวร ใน 4 เหตุการณ์ (รวมรวมจากพระไตรปิฎก จากพระโอษฐ์)  
1288 มายาเครื่องกลับใจ ตรัสกับภัททิยลิจฉวี ที่เข้าใจผิด คิดว่าพระผู้มีพระภาคใช้มายาเครื่องกลับใจ ให้ปริพาชก หันมาเป็นสาวก  
1289 ประชาชนพากันติเตียนพระผู้มีพระภาค ว่า ทำให้ชายไม่มีบุตร ทำให้หญิงเป็นหม้าย ตรัสว่าเสียงนั้นอยู่ได้เพียง ๗ วัน  
1290 ตปุสสสูตร ปัญหาของ ตปุสสคฤหบดี ว่าทำไมจิตจึงไม่แล่นไปสู่เนกขัมมะ (ดำริออกจากกาม)  
     
 

รวมเรื่องมารผู้มีบาป ทั้งมารที่เป็นสัตว์ และ มารที่เป็นเรื่องอุปมา

 
1291 1) อานนท์ถูกมารดลใจ ขณะอยู่ต่อหน้าพระผู้มีพระภาค
2) มารขอให้พระผู้มีพระภาค จงปรินิพพาน เสียในบัดนี้เถิด
3) ทางไม่ปลอดภัยคือ ทางของมารผู้มีบาป มรรค๘ คือทางปลอดภัย
4) สถานที่ซึ่งมารไปไม่ถึง คือการกำจัดขันธ์ทั้ง ๕ คือตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
5) ป่าใหญ่มีมารที่เป็นสัตว์ดุร้าย การทำสมาธิ จะตัดการมองเห็นของมาร
6) การพิจารณาเห็นความเกิด-ดับของขันธ์ ๕ คือที่ๆ มารไปไม่ถึง
7) ตบะอื่นไม่ประกอบด้วยประโยชน์ มรรค ๘ คือความบริสุทธิ์อันยอดเยี่ยม
8) มารแปลงกายเป็นพระยาช้างใหญ่ เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า
9) ทรงตรัสกับมารว่า เราเป็นผู้พ้นแล้วจากบ่วงของมาร
 
 
 
1292 10) ทรงทำลายเครื่องผูกของมาร
11) มารแปลงร่างเป็นพญางูใหญ่ แต่ไม่อาจทำร้ายผู้ทำลายอุปธิ (ขันธ์๕)ได้
12) มารกล่าวหาว่าพระผู้มีพระภาคนอนตื่นสาย
13) ทรงตรัสกับมารว่า คนมีบุตรย่อมเศร้าโศกเพราะบุตร คนมีโค ก็ย่อมเศร้าโศกเพราะโค
14) ทรงตรัสกับมารว่า มนุษย์มีอายุน้อย คนดีควรดูหมิ่นอายุนั้นเสีย
15) ทรงตรัสกับมารว่า วันคืนย่อมผ่านพ้นไป อายุที่เหลืออยู่ควรทำแต่กุศล
16) มารกลิ้งหิน เข้าใกล้พระผู้มีพระภาค แต่ไม่ทรงหวั่นไหว
17) มารทูลถาม ท่านเป็นผู้ชนะหรือ จึงบันลือสีหนาท ดุจราชสีห์
18) มารกล่าวว่า พระผู้มีพระภาคนอนด้วยความเขลา คิดแต่กาพย์กลอน(ธรรมะ)
19) มารทูลถามพระพุทธเจ้าว่า พร่ำสอนผู้อื่นด้วยสิ่งใด
20) มารจะจับบ่วงใจพระผู้มีพระภาค แต่ทรงละความพอใจในขันธ์๕ เสียแล้ว
21) มารแปลงร่างเป็นโค ทำลายบาตรของภิกษุ
22) มารเข้าใกล้พระผู้มีพระภาค ร้องเสียงดังดุจแผ่นดินจะถล่ม
 
 
 
1293 23) มารดลใจชาวบ้านไม่ไห้ใส่บาตรพระผู้มีพระภาค
24) มารแปลงร่างเป็นชาวนาแบกคันไถ เข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาค
25) มาร ขอพระผู้มีพระภาค จงทรงเสวยรัชสมบัติ เถิด
26) มารแปลงร่างเป็นพราหมณ์ เข้าพบภิกษุวัยหนุ่ม โน้มน้าวภิกษุเหล่านั้นให้บริโภคกาม
27) มารทราบวาระจิตของพระ สมิทธิ ว่า กำลังวิตก จึงแกล้งทำเสียงดัง
28) มารเข้าเฝ้าฯ แจ้งว่ามีภิกษุชื่อโคธิกะ เตรียมฆ่าตัวตาย
29) มารถามพระผู้มีพระภาคว่า ท่านถูกความโศกทับถมหรือ จึงได้มาอยู่ในป่า
30) มารแกล้งถาม อาฬวิกาภิกษุณี ว่าในโลกนี้ ไม่มีทางออกไปจากทุกข์ได้
 
 
 
1294 31) มาร แกล้งถามโสมาภิกษุณี ว่าสตรีมีปัญญาเพียงสองนิ้ว ไม่อาจถึงฐานะได้ (บรรลุ)
32) มาร แกล้งถามกิสาโคตมีภิกษุณี ว่าท่านมาอยู่ ป่าคนเดียว เพื่อแสวงหาบุรุษ หรือ
33) มาร แกล้งถามกิสาโคตมีภิกษุณี ว่าเธอเป็นสาวรูปงาม และฉันก็ยังหนุ่ม มาเถิด เรามาอภิรมย์กัน
34) มาร แกล้งถามอุบลวรรณาภิกษุณีว่า ท่านยืนอยู่คนเดียว เพราะกลัวนักเลงหรือ
35) มาร ถามจาลาภิกษุณี ดูกรภิกษุณี ท่านไม่ชอบใจอะไรหนอ
36) มาร ถามอุปจาลาภิกษุณี ท่านอยากเกิด หรือหนอ..
37) มาร ถามสีสุปจาลาภิกษุณี ท่านชอบใจทิฐิของใครหนอ
38) มาร ถามเสลาภิกษุณี รูปนี้ใครสร้าง ผู้สร้างรูปอยู่ที่ไหน รูปบังเกิดในที่ไหน รูปดับไปในที่ไหน
39) มาร ถามเสลาภิกษุณี รูปนี้ สัตว์นี้ ใครสร้าง ผู้สร้างสัตว์อยู่ที่ไหน สัตว์เกิดในที่ไหน ดับที่ไหน
 
 
 
1295 40) พระสมิทธิเข้าเฝ้า ด้วยเหตุเพียงเท่าไรหนอจึงเรียกว่า มาร มาร
41) ตา รูป จักขุวิญญาณ (ผัสสะ) ... ไม่มีอยู่ที่ใด ที่นั่นไม่มีมาร
42) ขันธ์ ๕ คือ มาร ตรัสกับราธะ จงพิจารณาขันธ์ ๕ ว่าเป็นมาร
43) ขันธ์ ๕ คือ มาร ตรัสกับราธะ จงพิจารณาเห็นว่ามารเป็นผู้ทำให้ตาย-ไม่ตาย
44) มารเข้าสิงกายพรหมปาริสัชชะ อย่ารุกรานพกพรหมเลย
45) มาร สิงกายพรหมปาริสัชชะ อย่าแสดงธรรมกับพวกบรรพชิตเลย
46) มาร ปลอมตัวเป็นคนแก่ ถือไม้เท้าเข้าหาภิกษุหนุ่ม แนะว่าควรเสพกาม
47) มาร เข้าหาพระสมิทธิ ทำเสียงดังปานแผ่นดินถล่ม พ.ตรัสว่า มารทำคาถาบังตา
 
 
 
  รวมพระสูตร โยนิโสมนสิการ การกระทำไว้ในใจโดยแยบคาย และ อโยนิโสมนสิการ   
1296 1) โยนิโสมนสิการ หมายถึง
2) องค์ของการบรรลุโสดา ๔ อย่าง
3) ว่าด้วยการสังวรในอาสวะทั้งปวง
4) จงละมนสิการ ไม่แยบคายเสีย
5) โยนิโสมนสิการ เป็นนิมิตแห่งอริยมรรค
6) โยนิโสมนสิการ เป็นนิมิตแห่งอริยมรรค
7) โยนิโสมนสิการ มีอุปการะมากแก่อริยมรรค
8) โยนิโสมนสิการ มีอุปการะมากแก่อริยมรรค
 
 
 
1297 9) โยนิโสมนสิการ เป็นเหตุให้เกิดอริยมรรค
10) โยนิโสมนสิการ เป็นเหตุให้เกิดอริยมรรค
11) อโยนิโสมนสิการ(ไม่กระทำในใจโดยแยบคาย) คืออาหารของนิวรณ์ ๕
12) โยนิโสมนสิการ (กระทำในใจโดยแยบคาย)คืออาหารของโพชฌงค์ ๗
13) โยนิโสมนสิการ เป็นเบื้องแรกแห่งโพชฌงค์
14) ธรรมที่เป็นกุศล มีโยนิโสมนสิการเป็นมูล
15) โยนิโสมนสิการ(กระทำในใจโดยแยบคาย) เป็นปัจจัยแห่งโพชฌงค์
16) อโยนิโสมนสิการ (ไม่กระทำในใจโดยแยบคาย) คืออาหารของนิวรณ์
 
 
 
1298 17) โยนิโสมนสิการ อาหารของโพชฌงค์
18) โยนิโสมนสิการ มิใช่อาหารของนิวรณ์
19) ว่าด้วยองค์ธรรมเครื่องบรรลุโสดา
20) อโยนิโสมนสิการ คือปัจจัยเพื่อความเกิดขึ้นแห่งราคะ
21) เมื่อกระทำไว้ในใจโดยแยบคาย โมหะที่ยังไม่เกิด ย่อมไม่เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแล้วย่อมละได้
22) โยนิโสมนสิการ ทำไว้ในใจโดยแยบคาย ย่อมเป็นไปเพื่อความเจริญ
23) อโยนิโสมนสิการ แล เป็นเหตุเป็นปัจจัยแห่งการทำบาปกรรม
 
 
 
1299 24) อโยนิโสมนสิการ ไม่มีเถาวัลย์ คือมานะ
25) โยนิโสมนสิการ เป็นธรรมภิกษุผู้เป็นเสขะ ยังไม่บรรลุอรหัตผล
26) อโยนิโสมนสิการ เป็นรากเง้าแห่งธรรมเครื่องเนิ่นช้า ของตัณหาและทิฏฐิ
27) อโยนิโสมนสิการ รากของความโกรธและความดูหมิ่น
28) โยนิโสมนนิการ เบื้องต้นของผู้หยั่งลงสู่ความเพียร(พระโยคาวจร)
29) อโยนิโสมนสิการ เป็นข้อหนึ่งในที่ตั้งแห่งทิฐิ ๘
30) ธรรม ๔ ประการ ย่อมเป็นไปเพื่อทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล
 
 
 
1300 มธุปิณฑิกสูตร ว่าด้วยธรรมบรรยายที่ไพเราะ สัญญาเครื่องเนิ่นช้า เหตุแห่งการการจับศาสตรา การทะเลาะ การถือผิด การโต้เถียง  
     
   


 

พุทธวจน : อ่านคำสอนพระศาสดา อ่านแบบสบายตา โดยคัดลอกหนังสือทั้งเล่มมาจัดทำเป็นเว็บเพจ (คลิกอ่านพร้อมดาวน์โหลดไฟล์ pdf)
90 90 90 90  
 
พุทธประวัติ ขุมทรัพย์
อริยสัจ
ภาคต้น
อริยสัจ
ภาคปลาย
ปฏิจจ ปฐมธรรม ตถาคต อนาคามี อินทรีย์
สังวร
สัตว์
สัตตานัง
ทาน
สกทาคามี
ฆราวาส
ชั้นเลิศ
มรรควิธี
ที่ง่าย
 
   
อริยวินัย เดรัจฉานวิชา กรรม สมถะ
วิปัสสนา
โสดาบัน อานา
ปานสติ
จิต มโน
วิญญาณ
ก้าวย่าง
อย่างพุทธะ
ตามรอย
ธรรม
ภพ ภูมิ
พุทธวจน
สาธยาย
ธรรม
สังโยชน์