เว็บไซต์ อนาคามี เผยแพร่คำพระศาสดา เผยแพร่คำสอนตถาคต เว็บไซต์เผยแพร่พระสุตรคำสอนของพระพุทธเจ้า คลิปคำสอน คลิปสาธยายธรรม
  เรียงตามอักษรชุด 9
ค้นหาคำที่ต้องการ     

 
1 2 3 4 5 6 7 8 9  
 
10 11 12 13 14

(9) หมวด    ผ ฝ พ
1 ผัง
(พระสูตร แสดงแบบผัง)
2 ผัค ผัสสะ
ผัสสา ผ้า
3 ผู้... 4 แผ่ แผ่นดิน
แผ่นผ้า ฝัน ฝึก
5 พ้น  พยากรณ์
พระ พระเจ้า
6 พหุ พหู พอ 
พ่อ พาล พาหิยะ
7 พิม
พุทธ พุทธะ
8 พูด เพราะ เพิก เพื่อน 
โพช โพธิ เพลิน
9  พราหมณ์ 
(ปริพาชก)
10 พรหม
(รวมเรื่องพรหม)
11 พระพุทธเจ้า
(รวมเรื่องพระพุทธเจ้า)
12 พระสารีบุตร

1 ผัง (พระสูตรที่ทำผัง หรือภาพ ประกอบ)
     
S4-128

ขุนเขาสิเนรุ (จากสุริยสูตร)
  ยาว ๘๔,๐๐๐ โยชน์
  กว้าง ๘๔,๐๐๐ โยชน์
  หยั่งลงในมหาสมุทร ๘๔,๐๐๐ โยชน์
  สูงจากมหาสมุทรขึ้นไป ๘๔,๐๐๐ โยชน์

มีกาลบางคราวที่ฝนไม่ตกหลายปี หลายร้อยปี หลายพันปี หลายแสนปี เมื่อฝนไม่ตก พืชคาม ภูตคามและติณชาติที่ใช้เข้ายา ป่าไม้ใหญ่ ย่อมเฉา เหี่ยวแห้ง เป็นอยู่ไม่ได้ ฉันใด สังขารก็ฉันนั้น เป็นสภาพไม่เที่ยง ไม่ยั่งยืน..  (๑ โยชน์ = ๑๖ กม./ ๘๔,๐๐๐ โยชน์ จึง = ๑,๓๔๔,๐๐๐ กม.)

 
S7-190 วิบากกรม อย่างหนัก-อย่างเบา ของผู้ทุศีล
1.ฆ่าสัตว์    (โทษหนัก-นรก เดรัจฉาน เปรตวิสัย โทษอย่างเบา- อายุสั้น)
2.ลักทรัพย์
 (โทษหนัก นรก....โทษอย่างเบา เสื่อมจากทรัพย์สมบัติ)
3.ประพฤติผิดในกาม
(โทษหนัก นรก...โทษอย่างเบา ถูกก่อเวรด้วยศัตรู)
4.พูดโกหก
  (โทษหนัก นรก...โทษอย่างเบา ถูกกล่าวตู่ด้วยถ้อยคำไม่จริง)
5.พูดยุยงให้แตกกัน  
(โทษหนัก นรก...โทษอย่างเบา แตกแยกจากมิตร)
6.พูดคำหยาบ  
(โทษหนัก นรก...โทษอย่างเบา ได้ฟังเสียงที่ไม่น่าพอใจ)
7.พูดเพ้อเจ้อ   
(โทษหนัก นรก... โทษอย่างเบา วาจาไม่เป็นที่เชื่อถือ)
8.ดึ่มสุราเมรัย
  (โทษหนัก นรก... โทษอย่างเบา เป็นบ้า)
 
S11-10 เปรียบเทียบ นิวรณ์ ๕ กับ สังโยชน์ ๑๐ (ความเหมือน-ความต่าง)
นิวรณ์ ๕
1. กามฉันทะ (ความพอใจในกาม)
2. พยาบาท (ความไม่พอใจในกาม)
3. ถีนมิทธะ (ความขี้เกียจ ท้อแท้)
4. อุทธัจจะกุกกุจจะ (ฟุ้งซ่าน)
5. วิจิกิจฉา (ลังเลสงสัย)
สังโยชน์ ๑๐
(เบื้องต่ำ ๕) สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส กามฉันทะ พยาบาท
(เบื้องสูง ๕) รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะกุกกุจจะ อวิชชา
 
101 กรรมดำ-กรรมขาว กรรม ๔ อย่าง อย่างไรเล่า ?
1.กรรมดำ มีวิบากดำ ก็มีอยู่ การกระทำที่เป็นไปเพื่อความเบียดเบียน-เสวยทุกข์โดยส่วนเดียว
2.กรรมขาว มีวิบากขาว ก็มีอยู่ กระทำที่ไม่เป็นไปเพื่อความเบียดเบียน-เสวยสุขโดยส่วนเดียว
3.กรรมทั้งดำทั้งขาว มีวิบากทั้งดำทั้งขาว..เบียดเบียนบ้าง-ไม่เบียดเบียนบ้าง
สวยทั้งสุขและทุกข์
4.กรรมไม่ดำไม่ขาวมีวิบากไม่ดำไม่ขาว เป็นไปเพื่อความสิ้นกรรม
ปฏิบัติมรรค 8 เพื่อความสิ้นกรรม
 
209 กามวิตก (ตริตึกในกาม) กุศลวิตก-อกุศลวิตก ๓ อย่าง กามธาตุ->กามสัญญา->กามสังกัปปะ->กามฉันทะ->กามปริฬาหะ->กามปริเยสนา
ฝั่งอกุศล (มิจฉาสังกัปปะ ดำริในทางที่ผิด)
๑. กามวิตก ๒. พยาปาทวิตก ๓. วิหิงสาวิตก

ฝั่งกุศล (สัมมาสังกัปปะ ดำริชอบ)
๑. เนกขัมมวิตก (ดำริออกจากกาม) ๒. อัพยาปาทวิตก (ดำริไม่พยาบาท) ๓. อวิหิงสาวิตก

 
221 กายคตาสติ โทษของการไม่มี กายคตาสติ เปรียบเหมือน จับสัตว์ ๖ ชนิดผูกด้วยเชือก
เปรียบจับสัตว์ 6 ชนิด มาผูกรวมกันด้วยเชือก คือ งู จระเข้ นก สุนัขบ้าน สุนัขจิ้งจอก ลิง เมื่อปล่อยแล้ว สัตว์ทั้งหกชนิด มีที่อาศัยและที่เที่ยวต่างๆกัน ก็ยื้อแย่ง ฉุดดึงกัน เพื่อจะไปสู่ ที่อาศัยที่เที่ยวของตนๆ
 
302 ปฏิจจสมุปบาท เมื่อมีการกระทบทางอายตนะ (ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ) ตา+รูป+จักษุวิญญาณ จึงเกิดผัสสะ..เกิดเวทนา ..เกิดตัณหา
เพราะอาศัยซึ่งจักษุด้วย ซึ่งรูปทั้งหลายด้วย จึงเกิดจักขุวิญญาณ การประจวบพร้อมแห่งธรรม ๓ ประการนี้ คือ ผัสสะ เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา เพราะมีเวทนาเป็น ปัจจัย จึงมีตัณหา เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน
 
320 อินทรีย์ ๕ กับ พละ ๕
เปรียบเหมือนแม่น้ำสายเดียวกัน ที่แยกออกจากกันระหว่าง เกาะ กลางน้ำ (สาเกตสูตร)
สิ่งใดเป็นสัทธินทรีย์ สิ่งนั้นเป็นสัทธาพละ : สิ่งใดเป็นสัทธาพละ สิ่งนั้นเป็นสัทธินทรีย์
สิ่งใดเป็นวิริยินทรีย์ สิ่งนั้นเป็นวิริยพละ : สิ่งใดเป็นวิริยพละ สิ่งนั้นเป็นวิริยินทรีย์
สิ่งใดเป็นสตินทรีย์ สิ่งนั้นเป็นสติพละ : สิ่งใดเป็นสติพละ สิ่งนั้นเป็นสตินทรีย์
สิ่งใดเป็นสมาธินทรีย์ สิ่งนั้นเป็นสมาธิพละ : สิ่งใดเป็นสมาธิพละ สิ่งนั้นเป็นสมาธินทรีย์
สิ่งใดเป็นปัญญินทรีย์ สิ่งนั้นเป็นปัญญาพละ : สิ่งใดเป็นปัญญาพละ สิ่งนั้นเป็นปัญญินทรีย์
 
339 พระพุทธเจ้าในอดีต กัปที่ 91.. 1 พระองค์ กับที่ 31.. 2 พระองค์ กัปปัจจุบัน มี 4 พระองค์ รวม 7 พระองค์ (และอนาคตอีก 1 พระองค์)
1 .ย้อนไป 91 กัป พระพุทธเจ้าพระนามว่า วิปัสสี ช่วงอายุประมาณ 80,000 ปี
2. ย้อนไป 31 กัป พระพุทธเจ้าพระนามว่า สิขี ช่วงอายุประมาณ 70,000 ปี
3. ย้อนไป 31 กัป พระพุทธเจ้าพระนามว่า เวสภู ช่วงอายุประมาณ 60,000 ปี

4. กัปปัจจุบัน พระพุทธเจ้าพระนามว่า กกุสันธะ ช่วงอายุประมาณ 40,000 ปี
5. กัปปัจจุบัน พระพุทธเจ้าพระนามว่า โกนาคมนะ ช่วงอายุประมาณ 30,000 ปี
6. กัปปัจจุบัน พระพุทธเจ้าพระนามว่า กัสสปะ ช่วงอายุประมาณ 20,000 ปี
7. กัปปัจจุบัน พระพุทธเจ้าพระนามว่า ตถาคต ช่วงอายุประมาณ 100 ปี
กัปปัจจุบัน พระพุทธเจ้าพระนามว่า พระเมตไตรย ช่วงอายุประมาณ 80,000 ปี (อนาคต)
 
365 เปรียบเทียบ ผังภพภูม(ชั้นเทวดา) สังขารูปปัตติสูตร แตกชั้นเทวดาพรหม โดยละเอียด(มนุษย์) -พึงเข้าถึงความเป็นสหายแห่งกษัตริย์มหาศาล เป็นสหายแห่ง คฤหบดีมหาศาลเถิด
(เทวดากามภพ 5 ชั้น) -พึงเข้าถึงสหายเทวดาชั้น ดาวดึงส์ ยามา ดุสิต นิมมานรดี ปรนิม
(เทวดาพรหม 21 ชั้น) - พึงเข้าถึง สหัสสพรหม ทวิสหัสสพรหม ติสหัสสพรหม จตุสหัสสพรหม ปัญจสหัสสพรหม ทสสหัสสพรหม สตสหัสสพรหม อาภา ปริตตาภา อัปปมาณาภา อาภัสสรา สุภาปริตตสุภา อัปปมาณสุภา สุภกิณหา เวหัปปผลา พรหมสุทธาวาส 5 ชั้น
(เทวดาอรูป 4 ชั้น) พึงเข้าถึงเทวดา อากาสานัญจา วิญญานัญจา อากิญจัญญา เนวสัญญานา
(นิพพาน) - พึงเข้าถึง เจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้
 
370 อานิสงส์สูงสุดแห่งอานาปานสติ 2 ประการ และ 7 ประการ เทียบกับผังอนาคา
ผลอานิสงส์ ๗ ประการ คือ
๑. การบรรลุอรหัตตผลทันทีในปัจจุบันนี้
๒. ถ้าไม่เช่นนั้น ย่อมบรรลุอรหัตตผลในกาล แห่งมรณะ
๓. ถ้าไม่เช่นนั้น เพราะสิ้นโอรัมภาคิยสัญโญชน์ ๕ ย่อมเป็นอันตราปรินิพพายี
๔. ถ้าไม่เช่นนั้น เพราะสิ้นโอรัมภาคิยสัญโญชน์ ๕ ย่อมเป็นอุปหัจจปรินิพพายี
๕. ถ้าไม่เช่นนั้น เพราะสิ้นโอรัมภาคิยสัญโญชน์ ๕ ย่อมเป็นอสังขารปรินิพพายี
๖. ถ้าไม่เช่นนั้น เพราะสิ้นโอรัมภาคิยสัญโญชน์ ๕ ย่อมเป็นสสังขารปรินิพพายี
๗. ถ้าไม่เช่นนั้น เพราะสิ้นโอรัมภาคิยสัญโญชน์ ๕ ย่อมเป็นอุทธังโสโตอกนิฏฐคามี

 
386

ภพภูมิ เทวดา ..มีภพย่อยแตกต่างกัน
เทวดาชั้น อรูป 4 ชั้น
เนวสัญญานาสัญญายตน อากิญจัญญายตน วิญญาณัญจา อากาสานัญจา
เทวดาชั้นพรหม 5 ชั้น

 - สุทธาวาส.. สุทัสสี สุทัสสา อตัปปา อวิหา
 - เวหับผละ
 - สุภกิณหะ.. สุภกิณหะ อัปปมาณสุภา ปริตสุภา
 - อาภัสระ .. อาภัสรา อัปปมาณาภา ปริตตภา อาภา
 - พรหมกายิกา
เทวดาชั้นกามภพ 6 ชั้น ปรนิมมิตสวัตดี นิมมานรดี ดุสิต ยามา ดาวดึงส์ จาตุมหาราชิกา

 
420 มหาจัตตารีสกสูตร
รรคแปดที่เป็นแบบอริยะ (อนาสวะ) และ แบบปุถุชน (สาสวะ)

สาสวะ เป็น สัมมาทิฐิของ ภิกษุผู้ยังไม่เป็นอริยะ เรียกว่าเป็น มิจฉาทิฐิ ที่เป็น สาสวะ คือยังไม่ ประเสริฐ ยังหวังบุญ เป็นส่วนแห่งบุญ มีผลแก่ขันธ์ เป็นสัมมาทิฐิเบื้องต้น จิตยังแสวงหาที่พึ่ง เชื่อเรื่องทาน โลกนี้โลกหน้า ทำบญแล้วไปเกิดเป็นเทวดา

อนาสวะ เป็น สัมมาทิฐิของ ภิกษุผู้อริยะ เรียกว่าเป็น สัมมาทิฐิ ที่เป็น อนาสวะ เป็นโลกุตตระ เมื่อปฏิบัติ ข้อใดแล้ว มรรคองค์อื่นๆที่เหลืออีก ๗ ก็เป็นบริวารห้อมล้อม เช่นสัมมาสมาธิเป็นองค์ มรรค (ประธาน) ก็จะห้อมล้อมคล้อยตามด้วยมรรคที่เหลือ อีก ๗ องค์

 
467

สิกขาบท ๒๒๗ ข้อ (อรรถกถา)
1 ปาราชิก มี ๔ ข้อ (เช่น เสพเมถุน อวดอุตริ ลักทรัพย์ ฆ่าคน)
2 สังฆาทิเสส มี ๑๓ ข้อ (เช่น อสุจิเคลื่อน ต้องสตรี ยุสงฆ์ให้แตก)
3 อนิยตกัณฑ์ มี ๒ ข้อ (นั่งในที่ลับตากับสตรี นั่งในที่ลับหูกับสตรี)
4 นิสสัคคิยปาจิตตีย์ ๓๐ ข้อ (รับเงินและทอง ซื้อขายด้วยเงินทอง ขอบาตร)
5 ปาจิตตีย์ มี ๙๒ ข้อ ( พูดปด ด่า ส่อเสียด ขุดดิน ทำลายต้นไม้)
6 ปาฏิเทสนียะ มี ๔ ข้อ (ห้ามรับอาหารในบางกรณี)
7 เสขิยะ สารูป มี ๒๖ ข้อ (เรื่องความสำรวม ไม่เวิกผ้า ไม่พูดดัง หัวเราะดัง)
8 โภชนปฏิสังยุตต์มี ๓๐ ข้อ (หลักในการฉันอาหาร ไม่ฉันดัง ไม่เลียมือ)
9 ธัมมเทสนาปฏิสังยุตต์ ๑๖ ข้อ (เรื่องการแสดงธรรม เช่นไม่แสดงแก่คนนอน)
10 ปกิณสถะ มี ๓ ข้อ (ไม่ยืนปัสสาวะ ถ่ายอุจจาระ ไม่บ้วนน้ำลายลงน้ำ)
รวม 227 ข้อ

 
468 สิกขาบท ๑๕๐ ถ้วน ตามที่ปรากฎในพระไตรปิฎก (วัชชีปุตตสูตร- เสขสูตร)
1.ปาราชิก มี ๔ ข้อ (เช่น เสพเมถุน อวดอุตริ ลักทรัพย์ ฆ่าคน)
2.สังฆาทิเสส
มี ๑๓ ข้อ (เช่น อสุจิเคลื่อน ต้องสตรี ยุสงฆ์ให้แตก)
3.นิสสัคคิยปาจิตตีย์
๓๐ ข้อ (รับเงินและทอง ซื้อขายด้วยเงินทอง ขอบาตร)
4.ปาจิตตีย์ มี
๙๒ ข้อ (พูดปด ด่า ส่อเสียด ขุดดิน ทำลายต้นไม้)
5.ปาฏิเทสนียะ มี
๔ ข้อ (ห้ามรับอาหารในบางกรณี)
6.อธิกรณ์สมถะ มี
๗ ข้อ (การพิจารณาความของสงฆ์)
รวม 150 ข้อ
 
525 บุคคล ๑๐ จำพวกนี้มีอยู่ในโลก
1) ทุศีล+ไม่รู้ชัดเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุต จะไปในทางเสื่อม
2) ทุศีล +รู้ชัดเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุต จะไปในทางเจริญ
3) มีศีล+ไม่รู้ชัดเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุต จะไปในทางเสื่อม
4) มีศีล+รู้ชัดเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุต จะไปในทางเจริญ
5) ราคะกล้า+ไม่รู้ชัดเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุต จะไปในทางเสื่อม
6) ราคะกล้า+รู้ชัดเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุต จะไปในทางเจริญ
7) มักโกรธ+ไม่รู้ชัดเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุต จะไปในทางเสื่อม
8) มักโกรธ+รู้ชัดเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุต จะไปในทางเจริญ
9) ฟุ้งซ่าน+ไม่รู้ชัดเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุต จะไปในทางเสื่อม
10) ฟุ้งซ่าน+รู้ชัดเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุต จะไปในทางเจริญ
 
599 ธาตุสูตร สอุปาทิเสส นิพพานธาตุ กับ อนุปาทิเสส นิพพานธาตุ
 
620 เทวทูตสูตร (เทวทูตทั้ง๕)
1. ท่านไม่ได้เห็น(เทวทูตที่ ๑) ท่านไม่ได้เห็น เด็กแดงๆ ยังอ่อนนอนแบ เปื้อนมูตรคูถของตน หรือ
2. ท่านไม่ได้เห็น(เทวทูตที่ ๒) ท่านไม่ได้เห็นหญิงหรือชาย มีอายุ ๘๐ ปี ๙๐ ปี หรือ ๑๐๐ ปี หรือ
3. ท่านไม่ได้เห็น(เทวทูตที่ ๓) ท่านไม่ได้เห็นหญิงชาย ป่วยทนทุกข์เป็นไข้หนักนอนเปื้อนมูตร หรือ
4. ท่านไม่ได้เห็น(เทวทูตที่ ๔) ท่านไม่ได้เห็นราชาจับโจรทำผิด แล้วสั่งลงโทษ์ต่างๆบ้าง หรือ
5. ท่านไม่ได้เห็น(เทวทูตที่ ๕) ท่านไม่เห็นมนุษย์ที่ตายแล้ว ขึ้นพองเขียวช้ำ มีน้ำเหลืองเยิ้ม หรือ
 
634 ราตรีปรินิพพาน เทวดาเข้าเฝ้า บางพวกร้องให้คร่ำครวญ ดอกสาละร่วงหล่นโปรยปราย ลงยังพระสรีระของพระตถาคตเพื่อบูชา
 
638.1 วิภาคแห่งเวทนา วทนา 2 อย่าง, เวทนา 3 อย่าง, เวทนา 5 อย่าง, เวทนา 6 อย่าง
เวทนา 18 อย่าง, เวทนา 36 อย่าง, เวทนา 108 อย่าง
ทางดำเนินของสัตว์ 36/ สัตตบท 36
 
698 สัตตบท ๓๖การจำแนกอายตนะ ๖ สฬายตนวิภังคสูตร อายตนะภายใน๖
อายตนะภายนอก ๖ วิญญาณ ๖ ผัสสะ ๖ มโนปวิจาร ๑๘ 
 
794 บุคคล ๙ จำพวกที่เป็น สอุปาทิเสสะ (อนาคามี 5 สกทาคามี 1 โสดาบัน 3)
กระทำกาละแล้ว ๙ จำพวกเป็นไฉน
 
831 ผังการจุติของสัตว์ในภพภูมิต่างๆ สัตว์ในภพทั้ง 5 หลังตายแล้ว
จะมาเกิดในภพอื่น มาก-น้อย ดังนี้
 
933 อรหันต์ผู้มีฤทธิ์ ๔ รูป พระโมค กัสสป กัปปินะ พระอนุรุทธ เข้าเตโชธาตุกสิณ
หายตัว ตามพระผู้มีพระภาค ขึ้นไปปรากฎในพรหมโลก
 
973 คืนหนึ่ง แบ่งเป็น ๓ ยาม ยามละ ๔ ชั่วโมง (ตั้งแต่ ๖โมงเย็น - ๖ โมงเช้า) ย่ำค่ำ- ย่ำรุ่ง
1. ปฐมยาม (ยามต้น) ตั้งแต่ย่ำค่ำ (๑๘ นาฬิกา- ๔ ทุ่ม หรือ ๒๒ นาฬิกา)
2. มัจฉิมยาม (ยามหลัง) ตั้งแต่ ๒๒ นาฬิกา-ตี ๒
3. ปัจฉิมยาม (ยามสุดท้าย) ตั้งแต่ตี ๒ ถึงย่ำรุ่ง หรือ ๖ นาฬิกา
 
1081 ภพภูมิ เทวดา กามภพ-รูปภพ- อรูปภพ ผู้ที่เข้าสมาธิในระดับ สัญญาเวทยิตนิโรธ เมื่อกายแตกดับแล้วจะไปสู่ภพไหน
 
1145

แก้ว ๗ ประการของพระเจ้าจักรพรรดิ์
1.จักรแก้ว 2.ช้างแก้ว 3.ม้าแก้ว 4.มณีแก้ว 5.นางแก้ว 6.ขุนคลังแก้ว 7.ขุนพลแก้ว

 
1170 ปาสาทิกสูตร การแตกกันของลัทธินิครนฐ์นาฏบุตร และสามเณรจุนทะ เข้าเฝ้าฯ
 
1190 อาการเกิดกุศลวิตก หรือสัมมาสังกัปปะ เนกขัมมวิตก..ดำริออกจากกาม อัพ๎ยาปาท..ออกจากพยาบาท อวิหิงสาวิตก..ไม่เบียดเบียน
 
1380 รวมพระสูตร ปิยรูป สาตรูป ๖๐ (สิ่งอันเป็นที่รัก-เป็นที่ยินดีในโลก)
ที่เกิดจากอายตนะภายใน-ภายนอก ถูกปรุงแต่งจนเกิดเวทนา วิตก วิจาร
ปิยรูป สาตรูป ๖๐ (หมวดละ ๖ รวม ๑๐ หมวด)
1. (อายตนะภายใน6) จักษุ โสตะ ฆานะ ชิวหา กาย ใจ เป็นปิยรูป-สาตรูป
2. (อายตนะภายนอก6) รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ เป็นปิยรูป-สาตรูป
3. (วิญญาณ6) จักษุวิญญาณ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กาย มโน เป็นปิยรูป-
4. (ผัสสะ6) จักษุสัมผัส โสตสัมผัส ฆานสัมผัส ชิวหาสัมผัส กายสัมผัส มโน เป็นปิยรูป-
5. (เวทนา6) จักษุสัมผัสสชาเวทนา โสตสัมผัสสชา.. ฆานสัมผัส..ชิวหา. กายยะ. มโน เป็นปิย
6. (สัญญา6) รูปสัญญา สัททสัญญา คันธสัญญา รสสัญญา โผฏฐัพพ ธรรม เป็นปิยรูป-สาตรูป
7. (สัญญเจตนา6) รูปสัญเจตนา สัททสัญเจตนา คันธสัญ รสสัญ โผฏฐัพพสัญ- ธรรมสัญ-
8. (ตัณหา6) รูปตัณหา สัททตัณหา คันธตัณหา รสตัณหา โผฏฐัพพตัณหา ธรรมตัณหา เป็น
9. (วิตก6) รูปวิตก สัททวิตก คันธวิตก รสวิตก โผฏฐัพพวิตก ธรรมวิตก เป็นปิยรูป-สาตรูป
10. (วิจาร6) รูปวิจาร สัททวิหาร คันธวิจาร รสวิจาร โผฏฐัพพวิจาร ธรรมวิจาร เป็นปิยรูป-สาตรูป
 
1474

อภิธรรมปิฎก (คำสอนนอกพุทธศาสนา) พระอภิธรรมปิฎก ๑๒ เล่ม
(พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๔- ๔๕) มี ๔๒,๐๐๐ พระธรรมขันธ์

 
1563 ว่าด้วยอินทรีย์ ๓ อินทรีย์ ๔ อินทรีย์ ๕ อินทรีย์ ๖
อินทรีย์หมายถึงความเป็นใหญ่ / ร่างกายและจิตใจ/ สติปัญญา/ สิ่งมีชีวิต
อินทรีย์ ๓ นัยยะ ๑ อิตถินทรีย์- ปุริสินทรีย์- ชีวิตินทรีย์
อินทรีย์ ๓ นัยยะ ๒ อนัญญาตัญญัสสามีตินทรีย์- อัญญินทรีย์- อัญญาตาวินทรีย์
อินทรีย์ ๓ นัยยะ ๓ สติ สมาธิ ปัญญา
อินทรีย์ ๔ นัยยะ ๑ วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา
อินทรีย์ ๔ นัยยะ ๒ ศรัทธา วิรยะ สติ สมาธิ
อินทรีย์ ๕ นัยยะ ๑ ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา
อินทรีย์ ๕ นัยยะ ๒ สุขกาย ทุกข์กาย สุขใจ ทุกข์ใจ อุเบกขา
อินทรีย์ ๕
(ย่นเหลือ๓) สุขกายสุขใจ เป็นสุขเวทนา/ ทุกข์กายทุกข์ใจเป็นทุกข-/ อุเบกขาเป็นอทุกขมสุข
อินทรีย์ ๖ จักขุนทรีย์(ตา) โสตินทรีย์(หู) ฆานินทรีย์(จมูก) ชิวหินทรีย์(ลิ้น) กายินทรีย์ มนินทรีย์
 
     
 
   
  เรื่องอื่นๆ (ที่มีภาพประกอบ)
N110 การบวชภิกษุณีครั้งแรกในประเทศไทย เมื่อปี 2557
เมื่อวันเสาร์ที่ 29 พฤศจิกายน 2557 มีงานอุปสมบทภิกษุณีเกิดขึ้นเป็นครั้งแรก
ที่เกาะยอ จ.สงขลา พร้อมด้วยการบรรพชาสามเณรีอีก 47 รูป ตามโครงการบรรพชา
สามเณรีของ ทิพยสถานธรรมภิกษุณีอาราม

 
     
หนังสือพุทธวจน ออนไลน์
90 90 90 90  
 
พุทธประวัติ ขุทรัพย์
อริยสัจ
ภาคต้น
อริยสัจ
ภาคปลาย
ปฏิจ ปฐมธรรม ตถาคต อนาคามี อินทรีย์
สังวร
สัตว์
สัตตานัง
ทาน
สกทาคามี
ฆราวาส
ชั้นเลิศ
มรรควิธี
ที่ง่าย
 
   
อริยวินัย เดรัจฉานวิชา กรรม สมถะ
วิปัสสนา
โสดาบัน อานา
ปานสติ
จิต มโน
วิญญาณ
ก้าวย่าง
อย่างพุทธะ
ตามรอย
ธรรม
ภพ ภูมิ
พุทธวจน
สาธยาย
ธรรม
สังโยชน์