ที่มา
P1667 (1/4)
1 ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๖ สุตตันตปิฎก หน้าที่ ๓
ก็สังขารเป็นไฉน (๒ วิภังคสูตร)
2 ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๖ สุตตันตปิฎก หน้าที่ ๓๙
สังขารทั้งหลายเป็นไฉน (๗. ปัจจยสูตร)
3 ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๐ สุตตันตปิฎก หน้าที่ ๑๒๕
สังขารทั้งหลาย ไม่เที่ยงหนองบ สังขารเหล่านั้น เป็นสุข
4 ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๐ สุตตันตปิฎก หน้าที่ ๑๕๓
สังขารทั้งหลายไม่เที่ยงอย่างนี้แล
5 ฉบับหลวง เล่มที่ ๔ วินัยปิฎก มหาวรรค ภาค ๑ หน้าที่ ๒๐
สังขารทั้งหลายเป็นอนัตตา (ตรัสกับพระปัญจวัคคีย์)
6 ฉบับหลวง เล่มที่ ๔ วินัยปิฎก มหาวรรค ภาค ๑ หน้าที่ ๒๓
สังขารทั้งหลาย นั่นไม่ใช่ของเรา เป็นเรานั่นไม่ใช่ตนของเรา
7 ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๐ สุตตันตปิฎก หน้าที่ ๑๐๐
เราขอเตือนพวกเธอ สังขารทั้งหลายมีความเสื่อมเป็นธรรมดา (ช่วงปลงสังขาร)
8 ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๐ สุตตันตปิฎก หน้าที่ ๑๒๔
เราขอเตือนพวกเธอ สังขารทั้งหลายมีความเสื่อมเป็นธรรมดา (ปัจฉิมวาจา-ราตรีปรินิพพาน)
9 ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ สุตตันตปิฎก หน้าที่ ๖๖
บุคคลบางคนประมวลกายสังขาร วจีสังขาร มโนสังขาร อันมีความทุกข์ อันเป็นวิบาก (กรรมดำกรรมขาว ๔)
10 ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๖ สุตตันตปิฎกหน้าที่ ๓๖
เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย บุคคลย่อมปรุงแต่งกายสังขาร วจีสังขาร มโนสังขาร ซึ่งเป็นปัจจัยให้สุขและทุกข์ (๔. อัญญติตถิยสูตร)
11 ฉบับหลวง เล่มที่ ๒๐ สุตตันตปิฎก หน้าที่ ๑๑๖
บุคคล ๓ จพวกนี้ ย่อมปรุงแต่งกายสังขาร วจีสังขาร มโนสังขาร ที่มีความเบียดเบียนบ้าง ไม่เบียดเบียนบ้าง (สังขารสูตร)
12 ฉบับหลวง เล่มที่ ๒๑ สุตตันตปิฎก หน้าที่ ๑๕๔
เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย บุคคลย่อมปรุงแต่งกายสังขาร วจีสังขาร มโนสังขาร (สัญเจตนิยวรรคที่ ๓)
P1668 (2/4)
1 ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๖ สุตตันตปิฎก หน้าที่ ๑๒๑
สังขารทั้งหลาย นั่นไม่ใช่ของเรา...
2 ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๖ สุตตันตปิฎก หน้าที่ ๑๙๐
สังขารทั้งหลายไม่เที่ยง ไม่ยั่งยืน ไม่น่าชื่นใจ
3 ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๗ สุตตันตปิฎก หน้าที่ ๑๓๕
อุปมาสังขารทั้งหลาย เหมือนต้นกล้วย
4 ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๗ สุตตันตปิฎก หน้าที่ ๒๙๔
ความไม่รู้ในสังขารทั้งหลายเป็นเหตุให้เกิดทิฏฐิหลายอย่าง
(๔. สังขารอัญญาณสูตร)
5 ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๗ สุตตันตปิฎก หน้าที่ ๒๓๑
สังขารทั้งหลายดับสนิท เมื่อภิกษุเข้าปฐมฌาน (รโหคตสูตร)
6 ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๙ สุตตันตปิฎก หน้าที่ ๔๔๔
ยินดีในสังขารทั้งหลายย่อมไม่พ้นไปจากทุกข์ (ปริฬาหสูตร)
7 ฉบับหลวง เล่มที่ ๒๔ สุตตันตปิฎก หน้าที่ ๙๙
ก็อนิจจสัญญาเป็นไฉน
8 ฉบับหลวง เล่มที่ ๒๕ สุตตันตปิฎกธรรมบท-อุทาน หน้าที่ ๓๕๓
ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งทั้งหมด ย่อมเกิดขึ้นเพราะ สังขารเป็นปัจจัย
9
ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๒ สุตตันตปิฎก หน้าที่ ๓๘๙
กายสังขาร วจีสังขาร จิตตสังขาร เป็นอย่างไร
(ธรรมทินนาภิกษุณี สนทนากับ วิสาขอุบาสก)
P1669 (3/4)
1 ฉบับหลวง เล่มที่ ๒๑ สุตตันตปิฎก หน้าที่ ๒๑๙
กรรม.. ย่อมปรุงแต่งกายสังขาร วจีสังขาร มโนสังขาร (กรรมวรรคที่ ๔)
2 ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๖ สุตตันตปิฎก หน้าที่ ๑๐
สังขารเหล่านี้ มีอะไรเป็นที่ตั้งขึ้น มีอะไรเป็นกำเนิด (อาหารสูตร)
3 ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๖ สุตตันตปิฎก หน้าที่ ๒๕
ความเกิด-ความดับแห่ง สังขารทั้งหลาย (ทสพลสูตรที่ ๑)
4 ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๖ สุตตันตปิฎก หน้าที่ ๒๗
ธรรมชาติที่อิงอาศัยกัน (อุปนิสสูตร)
5 ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๖ สุตตันตปิฎก หน้าที่ ๔๐
รู้ปฏิจจตามนัยะแห่งอริยสัจสี่ทั้ง ๑๑ อาการ (ญาณวัตถุ ๔๔)
6 ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๖ สุตตันตปิฎก หน้าที่ ๙๙
ในที่ใดมีการหยั่งลงแห่งนามรูป ในที่นั้นย่อมมีความเจริญแห่งสังขารทั้งหลาย
7 ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๘ สุตตันตปิฎก หน้าที่ ๒๓๔
ความดับ ความสงบ ความระงับ แห่งสังขารทั้งหลาย
8 ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๙ สุตตันตปิฎก หน้าที่ ๔๔๓
ความยินดีในสังขารทั้งหลายย่อมเป็นไปเพื่อการเกิด..ย่อมตกลงเหวที่น่ากลัว
P1670 (4/4)
จาก หนังสือ จิต มโน วิญญาณ หน้า 37
1 รายละเอียดของสังขาร (นัยที่ ๑) สังขารทั้งหลาย ๓ อย่าง คือ
2 รายละเอียดของสังขาร (นัยที่ ๒) สังขารทั้งหลาย ๓ อย่าง คือ
3 รายละเอียดของสังขาร (นัยที่ ๓) บุคคล ๓ จำพวกนี้ มีปรากฏอยู่ในโลก
4 รายละเอียดของสังขาร (นัยที่ ๔) ก็สังขารทั้งหลายเป็นอย่างไร
5 รายละเอียดของสังขาร (นัยที่ ๕) เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัยบุคคลย่อมปรุงแต่ง กายสังขาร วจีสังขาร มโนสังขาร
พุทธวจน"ความหมายของสังขารทั้งหลาย ในสายปฏิจจสมุปบาท
https://www.facebook.com/watch/?v=687179878767409
https://www.facebook.com/watch/?v=1052466471567207
|