|
ผู้ฉลาดในฐานะ ๗ ประการ ซึ่งขันธ์ ๕ |
|
|
|
|
|
|
|
รู้ชัด |
|
รูป |
เวทนา |
สัญญา |
สังขาร |
วิญญาณ |
1 |
รู้ชัด ซึ่งรูป |
รู้ชัด ซึ่งเวทนา |
รู้ชัด ซึ่งสัญญา |
รู้ชัด ซึ่งสังขาร |
รู้ชัด ซึ่งวิญญาณ |
2 |
รู้ชัด ซึ่งความเกิด
ของรูป |
รู้ชัด ซึ่งความเกิด
ของเวทนา |
รู้ชัด ซึ่งความเกิด
ของสัญญา |
รู้ชัด ซึ่งความเกิด
ของสังขาร |
รู้ชัด ซึ่งความเกิด
ของวิญญาณ |
3 |
รู้ชัด ซึ่งความดับ
ของรูป |
รู้ชัด ซึ่งความดับ
ของเวทนา |
รู้ชัด ซึ่งความดับ
ของสัญญา |
รู้ชัด ซึ่งความดับ
ของสังขาร |
รู้ชัด ซึ่งความดับ
ของวิญญาณ |
4 |
รู้ชัด ข้อปฏิบัติให้ถึง
ความดับ แห่งรูป |
รู้ชัด ข้อปฏิบัติให้ถึง
ความดับ แห่งเวทนา |
รู้ชัด ข้อปฏิบัติให้ถึง
ความดับ แห่งสัญญา |
รู้ชัด ข้อปฏิบัติให้ถึง
ความดับ แห่งสังขาร |
รู้ชัด ข้อปฏิบัติให้ถึง
ความดับ แห่งวิญญาณ |
5 |
รู้ชัด คุณของรูป |
รู้ชัด คุณของเวทนา |
รู้ชัด คุณของสัญญา |
รู้ชัด คุณของสังขาร |
รู้ชัด คุณของวิญญาณ |
6 |
รู้ชัด โทษของรูป |
รู้ชัด โทษของเวทนา |
รู้ชัด โทษของสัญญา |
รู้ชัด โทษของสังขาร |
รู้ชัด โทษของวิญญาณ |
7 |
รู้ชัด อุบายเครื่อง
สลัดออก แห่งรูป |
รู้ชัด อุบายเครื่อง
สลัดออก แห่งเวทนา |
รู้ชัด อุบายเครื่อง
สลัดออก แห่งสัญญา |
รู้ชัด อุบายเครื่อง
สลัดออก แห่งสังขาร |
รู้ชัด อุบายเครื่อง
สลัดออก แห่งวิญญาณ |
|
|
|
|
|
|
|
ก็รูปเป็นอย่างไร |
ก็เวทนาเป็นอย่างไร |
ก็สัญญาเป็นอย่างไร |
ก็สังขารเป็นอย่างไร |
ก็วิญญาณเป็นอย่างไร |
1 |
รูป คือมหาภูตรูป ๔
และ
รูปที่อาศัยมหาภูตรูป ๔
|
เวทนาคือ
หมู่แห่งเวทนา ๖
จาก
จักขุสัมผัส โสตสัมผัส
ฆานสัมผัส ชิวหาสัมผัส
กายสัมผัส มโนสัมผัส
|
สัญญาคือ
หมู่แห่งสัญญา ๖ คือ
สัญญาในรูป เสียง กลิ่น
รส โผฏฐัพพะ ในธรรม |
สังขารคือ
หมู่แห่งเจตนา ๖ คือ
สัญเจตนาในรูป
เสียง
กลิ่น ในรส โผฏฐัพพะ
สัญเจตนาในธรรม |
วิญญาณคือ
หมู่แห่งวิญญาณ ๖ คือ
จักขุวิญญาณ โสต ฆานะ
ชิวหา กายะ มโนวิญญาณ |
2 |
ความเกิดแห่งรูป
เพราะอาศัยอาหาร |
ความเกิดแห่งเวทนา
เพราะความเกิดขึ้นผัสสะ
|
ความเกิดแห่งสัญญา
เพราะอาศัยผัสสะ
|
ความเกิดแห่งสังขาร
เพราะอาศัยผัสสะ
|
ความเกิดแห่งวิญญาณ
เพราะอาศัยนามรูป |
3 |
ความดับแห่งรูปย่อมมี
เพราะความดับ
แห่งอาหาร |
ความดับแห่งเวทนาย่อมมี
เพราะความดับ
แห่งผัสสะ
|
ความดับแห่งสัญญาย่อมมี
เพราะความดับ
แห่งผัสสะ
|
ความดับแห่งสังขารย่อมมี
เพราะความดับ
แห่งผัสสะ
|
ความดับแห่งวิญญาณ
ย่อมมี เพราะ
ความดับแห่งนามรูป |
4 |
ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับ
แห่งรูป คือมรรค ๘ |
ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับ
แห่งเวทนา คือมรรค ๘ |
ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับ
แห่งสัญญา คือมรรค ๘ |
ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับ
แห่งสังขาร คือมรรค ๘ |
ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับ
แห่งวิญญาณ คือมรรค ๘ |
5 |
สุขโสมนัสใด
อาศัยรูปเกิดขึ้น
นี้เป็นคุณแห่งรูป |
สุขโสมนัสใด
อาศัยเวทนา เกิดขึ้น
นี้เป็นคุณแห่งเวทนา |
สุขโสมนัสใด
อาศัยสัญญาเกิดขึ้น
นี้เป็นคุณแห่งสัญญา |
สุขโสมนัสใด
อาศัยสังขารเกิดขึ้น
นี้เป็นคุณแห่งสังขาร |
สุขโสมนัสใด
อาศัยวิญญาณเกิดขึ้น
นี้เป็นคุณแห่งวิญญาณ |
6 |
รูปไม่เที่ยง เป็นทุกข์
มีความแปรปรวน
นี้เป็นโทษแห่งรูป |
เวทนาไม่เที่ยง เป็นทุกข์
มีความแปรปรวน
นี้เป็นโทษแห่งเวทนา |
สัญญาไม่เที่ยง เป็นทุกข์
มีความแปรปรวน
นี้เป็นโทษแห่งสัญญา |
สังขารไม่เที่ยง เป็นทุกข์
มีความแปรปรวน
นี้เป็นโทษแห่งสังขาร |
วิญญาณไม่เที่ยง เป็นทุกข์
มีความแปรปรวน
นี้เป็นโทษแห่งวิญญาณ |
7 |
การกำจัดฉันทราคะในรูป
นี้เป็นอุบายเครื่อง
สลัดออกแห่งรูป |
กำจัดฉันทราคะ
ในเวทนา
นี้เป็นอุบายเครื่อง
สลัดออกแห่งเวทนา |
กำจัดฉันทราคะ
ในสัญญา
นี้เป็นอุบายเครื่อง
สลัดออกแห่งสัญญษ |
กำจัดฉันทราคะ
ในสังขาร
นี้เป็นอุบายเครื่อง
สลัดออกแห่งสังขาร |
กำจัดฉันทราคะ
ในวิญญาณ
นี้เป็นอุบายเครื่อง
สลัดออกแห่งวิญญาณ |
|
|
|
|
|
|
|
|
สมณะหรือพราหมณ์ รู้ชัดและเป็นผู้ฉลาดใน ธรรม ๗ ประการนี้
รู้ชัดแล้วซึ่ง รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อย่างนี้ (๑)
รู้ชัดแล้วซึ่ง ความเกิด แห่งรูป ... อย่างนี้ (๒)
รู้ชัดแล้วซึ่ง ความดับ แห่งรูป ... อย่างนี้ (๓)
รู้ชัดแล้วซึ่ง ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับ แห่งรูป.....อย่างนี้ (๔)
รู้ชัดแล้วซึ่ง คุณ แห่งรูป...อย่างนี้ แล้ว (๕)
รู้ชัดแล้วซึ่ง โทษ แห่งรูป...อย่างนี้ แล้ว (๖)
รู้ชัดแล้วซึ่ง อุบายเครื่องสลัดออก แห่งรูป...อย่างนี้ แล้ว (๗)
เป็นผู้หลุดพ้น เพราะเบื่อหน่าย เพราะคลายกำหนัด
เพราะความดับ เพราะไม่ถือมั่น
ในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขาร ในวิญญาณ
สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น ชื่อว่าหลุดพ้นดีแล้ว
สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น เป็นเกพลี
สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเป็นเกพลี
วัฏฏะย่อมไม่มีแก่ สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|